Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19240
Title: The influence of Chinese young audiences' involvement, perceived destination image, place attachment on their behavioral intentions to Phuket, Thailand: A case study of Thai TV series "I Told Sunset About You"
Other Titles: อิทธิพลของการมีส่วนร่วมของผู้ชมวัยรุ่นชาวจีน ต่อการรับรู้ภาพลักษณ์จุดหมายปลายทางความรู้สึกผูกพันกับสถานที่ และความตั้งใจเชิงพฤติกรรมที่มีต่อจังหวัดภูเก็ต ประเทศไทย กรณีศึกษาละครโทรทัศน์ไทยเรื่อง แปลรักฉันด้วยใจเธอ (I Told Sunset About Tou)
Authors: Panuwat Phakdee-auksorn
Shi, Dongqi
Faculty of Hospitality and Tourism (Hospitality and Tourism Management)
คณะการบริการและการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยว
Keywords: behavioral intentions;Film tourism;audience involvement;destination image;place attachment
Issue Date: 2023
Publisher: Prince of Songkla University
Abstract: Film tourism has gained significant attention in the past decade, however, there is a lack of research that addresses audience perceptions and behavioral intentions regarding an unvisited destination after watching a film or television (TV) series. This study aims to fill this gap by applying audience involvement theory to examine its influence on audiences’ perceived destination image, place attachment, and behavioral intentions toward the depicted destination in the pre-visit stage. The Thai series TV "I Told Sunset About You" was conducted as a case study and a quantitative method was used. A self-administered questionnaire was employed as the research instrument. 564 young Chinese who had seen the TV series but had never visited Phuket, Thailand, were recruited as participants using a non-probability sampling method. Descriptive statistical analysis was utilized to summarize the participants' profiles and their level of involvement in the series TV, their perceptions of the destination's image, their attachment to the place, and their behavioral intentions toward Phuket. A confirmatory factor analysis was conducted to assess the reliability and validity of the proposed theoretical model. Structural equation modeling was applied to evaluate the relationship between audience involvement, destination image, place attachment, and behavioral intentions. The results of this study indicate that the level of involvement in a TV series has a positive effect on perceptions of destination image and attachment to the featured destination. In addition, destination image has a positive effect on place attachment. Furthermore, both destination image and place attachment have a significant influence on audience behavioral intentions in the pre-visit stage. This study offers unique theoretical and managerial implications for film tourism research and destination marketing organizations (DMOs).
Abstract(Thai): การท่องเที่ยวเชิงภาพยนตร์เป็นหัวข้อที่ได้รับความสนใจอย่างมากในทศวรรษที่ ผ่านมาอย่างไรก็ตามงานวิจัยเกี่ยวกับการรับรู้ของผู้ชมและความตั้งใจเชิงพฤติกรรมเกี่ยวกับ จุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวที่ยังไม่เคยไปเยือนหลังจากการรับชมภาพยนตร์หรือซีรีส์โทรทัศน์ (TV) ยังมีไม่มากนักการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเติมเต็มองค์ความรู้โดยใช้ทฤษฎีการมีส่วน ร่วมเพื่อตรวจสอบอิทธิพลของภาพยนตร์ที่มีต่อภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่ผู้ชมรับรู้ความรู้สึก ผูกพันต่อสถานที่และความตั้งใจเชิงพฤติกรรมที่มีต่อจุดหมายปลายทางในช่วงก่อนตัดสินใจ เดินทางไปเยี่ยมชมจริง โดยใช้ซีรี่ย์ละครโทรทัศน์ไทยเรื่อง แปลรักฉันด้วยใจเธอ (I Told Sunset About You) เป็นกรณีศึกษาใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล กําหนดให้กลุ่มเยาวชนชาวจีนจํานวน 564 คนซึ่งเคยดูซีรีย์เรื่องนี้ทางโทรทัศน์แต่ยังไม่เคยไปภูเก็ต ประเทศไทยเป็นกลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามใช้วิธีการสุ่มแบบไม่ทราบความน่าจะเป็นสรุป ลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามและระดับการมีส่วนร่วมในซีรีย์การรับรู้เกี่ยวกับ ภาพลักษณ์ของจุดหมายปลายทางความผูกพันกับสถานที่และความตั้งใจเชิงพฤติกรรมที่มีต่อภูเก็ต โดยใช้การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนาและใช้การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันเพื่อประเมินความ น่าเชื่อถือและความถูกต้องของแบบจําลองทางทฤษฎีที่เสนอและใช้แบบจําลองสมการโครงสร้าง เพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมของผู้ชมต่อภาพลักษณ์ของจุดหมายปลายทาง ความรู้สึกผูกพันกับสถานที่และความตั้งใจเชิงพฤติกรรม ผลการศึกษาบ่งชี้ว่าระดับการมีส่วนร่วม ในละครโทรทัศน์มีผลในเชิงบวกต่อการรับรู้ภาพลักษณ์ของจุดหมายปลายทางและความผูกพันต่อ จุดหมายปลายทางที่ถูกนําเสนอผ่านภาพยนตร์ นอกจากนี้ภาพลักษณ์ของจุดปลายทางยังส่งผลเชิง บวกต่อความรู้สึกผูกพันกับสถานที่อีกด้วยยิ่งไปกว่านั้นทั้งภาพลักษณ์ของจุดปลายทางและ ความรู้สึกผูกพันกับสถานที่ยังมีอิทธิพลอย่างมากต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้ชมในระยะก่อนการเดินทางผลการศึกษานี้เสนอนัยสําคัญทางทฤษฎีและการจัดการที่สําคัญสําหรับการวิจัยการท่องเที่ยวภาพยนตร์และองค์กรการตลาดในแหล่งท่องเที่ยวปลายทาง (DMOs)
Description: Master of Business Administration (Hospitality and Tourism Management (International Program)), 2023
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19240
Appears in Collections:816 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6330121019.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons