Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19239
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Nareeya Weerakit | - |
dc.contributor.author | Alina Tkachuk | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-20T07:24:21Z | - |
dc.date.available | 2023-12-20T07:24:21Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19239 | - |
dc.description | Master of Business Administration (Hospitality and Tourism Management (International Program)), 2023 | en_US |
dc.description.abstract | Changes in travel behavior and motivations during COVID-19 had a major impact on wellness tourism destinations to redesign their product to satisfy wellness travelers’ needs. The study aimed to explore the wellness tourist’s behavior and their travel motivations and to investigate the impact of demographic characteristics on wellness motivations. Quantitative research methods were applied by self-completed questionnaires distributed in public and entertaining areas around Phuket Island, Thailand. Convenience sampling method was used. 464 questionnaires were identified to be useful and then analyzed by using SPSS. This study found that most international wellness tourists stay in Phuket for 1-2 weeks and 1-2 months, traveling alone or with family. The main travel purpose was for leisure. The most popular sources of information were tourism websites and online social media such as Facebook, YouTube and Instagram. International wellness tourists preferred to use many wellness treatments, but the most popular wellness treatments were body and facial beauty treatments. There were six push motivational factors which include healthy diet and meditation, movement and fitness, self-care, rest and relaxation, socialization, learning about wellness and four pull motivations which include safety and access, variety and quality of wellness treatments, pricing and reputation, and climate and attractiveness. Socialization and safety and access were found to be influential while selecting the destination. This study also found that sociodemographic characteristics in terms of regions, gender, age and travel purposes have a significant impact on wellness tourist’s motivations. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Prince of Songkla University | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Wellness | en_US |
dc.subject | Tourist Motivation | en_US |
dc.subject | Push and Pull motivation | en_US |
dc.subject | Travel Behavior | en_US |
dc.subject | COVID-19 | en_US |
dc.title | Wellness Travel Motivation and Behavior during COVID-19 A Case Study of Phuket | en_US |
dc.title.alternative | แรงจูงใจและพฤติกรรมของการเดินทางท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพในช่วงโควิด-19 กรณีศึกษาของจังหวัดภูเก็ต | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Hospitality and Tourism (Hospitality and Tourism Management) | - |
dc.contributor.department | คณะการบริการและการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยว | - |
dc.description.abstract-th | การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการท่องเที่ยวและแรงจูงใจในช่วงการระบาดของเชื้อโควิด-19 มีผลกระทบอย่างยิ่งต่อแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในการออกแบบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อสํารวจพฤติกรรมและแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามในแหล่งบันเทิงและพื้นที่สาธารณะทั่วเกาะภูเก็ต ประเทศไทย ใช้ วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก จากแบบสอบถามจํานวน 464 ชุดที่สามารถใช้ในการวิเคราะห์ด้วย โปรแกรมสถิติสําเร็จรูป SPSS ผลการศึกษาพบว่า นักท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพชาวต่างชาติโดย ส่วนใหญ่มีระยะเวลาพํานักในจังหวัดภูเก็ต 1-2 สัปดาห์ และ 1-2 เดือน เดินทางคนเดียวหรือเดินทาง กับครอบครัว โดยมีวัตถุประสงค์ในการเดินทางเพื่อการพักผ่อน แหล่งข้อมูลที่ได้รับความนิยมใน การค้นหาข้อมูล คือ เว็บไซต์ด้านการท่องเที่ยว และ สื่อสังคมออนไลน์ เช่น เฟสบุค ยูทูป และอิน สตราแกรม และในระหว่างพํานักในจังหวัดภูเก็ต นักท่องเที่ยวมีการใช้บริการเชิงส่งเสริมสุขภาพ อย่างหลากหลาย โดยมีการบริการเชิงส่งเสริมสุขภาพที่ได้รับความนิยมมากที่สุด คือ บริการความ งามใบหน้าและร่างกาย สําหรับแรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพ พบว่า มีแรงจูงใจเชิง ผลัก 6 ปัจจัยในการเดินทาง ได้แก่ การทําสมาธิและการกินเพื่อสุขภาพ การออกกําลังกายและการ เคลื่อนไหว การดูแลตัวเอง การพักผ่อนหย่อนคลาย การเข้าสังคม และการเรียนรู้เกี่ยวกับการ ส่งเสริมสุขภาพ ในขณะที่แรงจูงใจเชิงดึงให้เลือกภูเก็ตเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวมี 4 ปัจจัย ได้แก่ การเข้าถึงและความปลอดภัย ความหลากหลายและคุณภาพของบริการเชิงส่งเสริม สุขภาพ ราคาและชื่อเสียง และอากาศและความน่าดึงดูดใจของแหล่งท่องเที่ยว โดยปัจจัยผลักด้าน การเข้าสังคม และปัจจัยดึงด้านการเข้าถึงและความปลอดภัยเป็นปัจจัยที่มีความสําคัญสูงที่สุด การศึกษานี้ยังพบว่า เพศ อายุ ภูมิลําเนา และเป้าหมายในการเดินทางของนักท่องเที่ยวมีผลกระทบ ต่อแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพชาวต่างชาติ | en_US |
Appears in Collections: | 816 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6130121004 .pdf | 1.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License