Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19223
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุใจ ส่วนไพโรจน์-
dc.contributor.authorอนงค์ อินทองแก้ว-
dc.date.accessioned2023-12-19T09:16:23Z-
dc.date.available2023-12-19T09:16:23Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19223-
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา), 2566en_US
dc.description.abstractThis study uses a one-group pre- and post-test design to examine the impact of the Marathon group counseling program based on the Satir model on self-efficacy perception in relapse prevention. It is experimental research without a control group. 13 people who were chosen for the sample through purposeful sampling were included. Two research tools were employed in this study: First, a general questionnaire and a relapse prevention questionnaire's self-efficacy perception are used as data collection tools. Second, there are 7 activities in the Satir model-based marathon group treatment program. It takes place over the course of 2 days and 1 night (20 hours). The effectiveness of the program instrument was assessed with the help of three experts using percentage, average, standard deviation, and post-hoc analysis. According to the study's findings, there is a degree of significance of.01 between the participants' pre-test and post-test scores on the relapse prevention test, and the post-test score is greater than the pre-test score. The assessment results of their own relapse prevention skills have generally improved since the application of this approach.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model,en_US
dc.subjectความภูมิใจแห่งตน การทดสอบen_US
dc.subjectการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดen_US
dc.subjectยาเสพติด การป้องกันและควบคุมen_US
dc.titleผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดen_US
dc.title.alternativeThe Effects of Program Marathon Counseling Group for Satir Model in Self efficacy for Relapse Prevention of Drug Addict, Drug Addict Rehabilitationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Psychology and Counseling)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (experimental Research) ใช้แบบแผนการทดลองแบบศึกษากลุ่มเดียววัดซ้ำ (One Group Pretest - Post-test Design) ไม่มีกลุ่มควบคุม เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำ ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจำนวน 13 คน คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือในการทำวิจัยมี 2 ส่วน ได้แก่ 1) เครื่องที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและแบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกัน การเสพซ้ำ 2) โปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ประกอบด้วย 7 กิจกรรม ระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรม 2 วัน 1 คืน รวมจำนวน 20 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนการทดลองและหลังการทดลอง ใช้สถิติ Paired-sample t-test ผลการวิจัยพบว่า คะแนนการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำ ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดก่อนและหลังการเข้าโปรแกรมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยหลังการเข้าโปรแกรมมีคะแนนการรับรู้ความสามารถ ในการป้องกันการเสพซ้ำสูงกว่าก่อนเข้าโปรแกรม ซึ่งระดับการรับรู้ความสามารถของตน ในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดโดยภาพรวมมีพัฒนาการ ที่ดีขึ้นกว่าก่อนเข้าโปรแกรมen_US
Appears in Collections:286 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6220121003.pdf3.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons