Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19220
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปาริชาติ วิสุทธิสมาจาร | - |
dc.contributor.author | สุวรรณ อ่อนรักษ์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-19T08:51:53Z | - |
dc.date.available | 2023-12-19T08:51:53Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19220 | - |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | This study was conducted to develop a model for use in health impact assessment by the community in mineral management under the Minerals Act 2017, using case studies from Phu Thap Fa Gold Mine in Loei Province and Chatree Gold Mine in an area spanning Thap Khlo District of Phichit Province and Wang Pong District of Phetchabun Province. The research procedures involved using literature reviews, in-depth interviews, small group discussions and model evaluations, based on a representative sample of 55 people from government agencies, academia, community leaders, related organizations and local stakeholders in mineral management The findings indicate that the model for use in health impact assessment by the community in mineral management in accordance with the Minerals Act 2017 can foster participation and a learning process among the community and participants in assessing the impacts, thus leading to knowledge exchange between the community and specialists in determining the community's core values and seeking data and evidence for decisions on formulating fair development and community well-being guidelines on the basis of community rights and applicable laws and regulations in the sustainable management of minerals, involving 4 steps: 1) Screening and Scoping; 2) Appraisal of Impacts; 3) Reviewing and Decision Making; and 4) Monitoring and Evaluation. Suggestions. When using the developed model, relevant agencies should offer assistance in the process or operating budgets. The community should also collaborate with the authorities, particularly local administrative bodies, at the area level to ensure that the recommendations can lead to the creation of policies or work plans. Additionally raising public awareness of impacts on the local economy, society, ecology, and public health is necessary. In order for the community to develop and be able to sustain the area, a learning process among community members and different sectors needs to be established, especially in the knowledge exchange between the community and specialists. This will allow for participation in all spheres of society and help the community to grow stronger and be able to sustain the area. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน | en_US |
dc.subject | การจัดการสินแร่ | en_US |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการสินแร่ ภายใต้พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 | en_US |
dc.title.alternative | Model Development of Application of Community Health Impact Assessment on the Mineral Act, B.C. 2560 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Environmental Management (Environmental Management) | - |
dc.contributor.department | คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม | - |
dc.description.abstract-th | การศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการสินแร่ ภายใต้พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 โดยใช้กรณีศึกษาจากพื้นที่เหมืองแร่ทองคำภูทับฟ้า จังหวัดเลย และเหมืองทองคำชาตรี พื้นที่คาบเกี่ยวระหว่าง อำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร และ อำเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยใช้วิธีการวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก การประชุมกลุ่มย่อยและการประเมินรูปแบบ จากกลุ่มตัวอย่างผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ ผู้นำชุมชน/กลุ่มองค์กรที่เกี่ยว และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการจัดการสินแร่ในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 55 คน ผลการศึกษา พบว่า รูปแบบการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน ในการจัดการสินแร่ ที่มีความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 สามารถสร้างการมีส่วนร่วมและกระบวนการเรียนรู้ระหว่างชุมชนกับผู้มีส่วนร่วมในการประเมินผลกระทบ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างความรู้ชุมชนกับความรู้ของผู้เชี่ยวชาญ ในการค้นหาคุณค่าหลักของชุมชน แสวงหาข้อมูลหลักฐาน ประกอบการตัดสินใจในการกำหนดข้อเสนอแนวทางพัฒนาที่เป็นธรรมและสร้างสุขภาวะของชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนตามสิทธิชุมชน กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ ในการบริหารจัดการสินแร่อย่างยั่งยืน ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน 1) การกลั่นกรองและกำหนดขอบเขต (Screening and Scoping) 2) การประเมินผลกระทบ (Appraisal) 3) การทบทวนและการผลักดันสู่กระบวนการตัดสินใจ (Reviewing and Decision making) และ 4) การตรวจสอบและติดตาม (Monitoring and evaluation) ข้อเสนอแนะ การนำรูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปประยุกต์ใช้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรช่วยสนับสนุนในเรื่องของกระบวนการหรืองบประมาณในการดำเนินการ และชุมชนควรดำเนินการร่วมกับหน่วยงานในระดับพื้นที่ ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ข้อเสนอที่ได้สามารถนำไปสู่การพัฒนานโยบายหรือแผนงาน และควรสร้างความตระหนักต่อผลกระทบของชุมชนในมิติทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของคนในชุมชน การสร้างกระบวนการเรียนรู้ระหว่างสมาชิกในชุมชนและภาคส่วนต่างๆ โดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างความรู้ชุมชนกับความรู้ของผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งและสามารสร้างความยั่งยืนให้แก่พื้นที่ | en_US |
Appears in Collections: | 820 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6210930039.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License