Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19216
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPornpisanu Promsivapallop-
dc.contributor.authorJulalak Phimarn-
dc.date.accessioned2023-12-19T07:16:40Z-
dc.date.available2023-12-19T07:16:40Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19216-
dc.descriptionMaster of Business Administration (Hospitality and Tourism Management (International Program)), 2023en_US
dc.description.abstractThe hotel industry is susceptible to crises. Phuket was a prominent victim of the COVID-19 outbreak. Rigorous travel restrictions caused the hotel businesses to shut down. The unemployment rate substantially surged. Only a few researchers have examined hotels’ COVID-19 crisis management practices. To survive, it is an urgent need for hotel practitioners to resiliently adjust management strategies. However, none of the studies has highlighted tremendous strategic responses to this crisis for the prolonged situation. This research attempts to fill this gap by investigating what are the COVID-19 crisis management strategies implemented by Phuket’s upscale hotels and comparing the crisis management practices between local upscale hotels and international upscale chain hotels. Data were collected from in-person interviews of 18 hotel executives managing 8 local upscale hotels and 8 international upscale chain hotels in Phuket, Thailand. Data were analyzed by using thematic analysis. The research reveals 80 crisis management practices in five main themes. The most widely undertaken strategy among the local upscale and international upscale chain hotels is the saving strategy (including human resources, operations, and maintenance). Dissimilarly, international chain hotels are better equipped than the locals. They have received guidelines to tackle the situation from the brands they belonged to. Most importantly, this research contributes profound insights of the COVID-19 pandemic crisis management practices for hotels across the three-wave of infections. It also confirms the absence of preparedness and health crisis management plans in the Phuket hotel industry. The hotel executives can adopt strategies that best match their hotel characteristics to handle future health crises.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectPhuketen_US
dc.subjectCrisis managementen_US
dc.subjectCrisis management practicesen_US
dc.subjectUpscale hotelsen_US
dc.titleCrisis Management of Upscale Hotels in Phuket during COVID-19 Pandemicen_US
dc.title.alternativeการจัดการวิกฤตของโรงแรมหรูในจังหวัดภูเก็ต ในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19en_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Hospitality and Tourism (Hospitality and Tourism Management)-
dc.contributor.departmentคณะการบริการและการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยว-
dc.description.abstract-thอุตสาหกรรมโรงแรมมีความเปราะบางต่อวิกฤต จังหวัดภูเก็ตได้รับผลกระทบโดยตรงจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อาทิ ข้อจำกัดในการเดินทางที่เข้มงวดทำให้นักท่องเที่ยวยกเลิกการเข้าพัก ธุรกิจโรงแรมขาดรายได้และต้องปิดตัวลง อัตราการว่างงานเพิ่มสูงขึ้น ที่ผ่านมามีงานวิจัยเพียงไม่กี่ชิ้นที่ศึกษาแนวทางปฏิบัติในการจัดการวิกฤตโควิด-19 ของโรงแรม อย่างไรก็ตามไม่มีการศึกษาใดที่เน้นการตอบสนองเชิงกลยุทธ์ของโรงแรมต่อวิกฤต โควิด-19 ตลอดระยะเวลาการแพร่ระบาดที่ยืดเยื้อ งานวิจัยนี้ได้เติมเต็มช่องว่างโดยศึกษาว่ากลยุทธ์การจัดการวิกฤตโควิด-19 อะไรที่โรงแรมหรูในจังหวัดภูเก็ตได้นำมาประยุกต์ใช้ และเปรียบเทียบแนวทางปฏิบัติในการจัดการภาวะวิกฤตระหว่างโรงแรมหรูระดับท้องถิ่นกับเครือโรงแรมหรูระดับนานาชาติ งานวิจัยฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัวกับผู้บริหารโรงแรมทั้ง 18 ท่าน จาก 16 โรงแรมโดยแบ่งเป็นโรงแรมระดับท้องถิ่น 8 แห่ง และโรงแรมหรูระดับนานาชาติ 8 แห่งในจังหวัดภูเก็ต ประเทศไทยการวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์แก่นสาระ ผลการศึกษาพบว่า แนวทางปฏิบัติในการจัดการวิกฤตของโรงแรมหรูมี 80 แนวทาง แบ่งเป็น 5 หัวข้อหลัก โดยกลยุทธ์ที่โรงแรมหรูระดับท้องถิ่นและระดับนานาชาติได้ดำเนินการมากที่สุด คือ กลยุทธ์การประหยัด (ครอบคลุมด้านทรัพยากรบุคคล การดำเนินงาน และการบำรุงรักษา) นอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า โรงแรมหรูในเครือระดับนานาชาติมีความพร้อมในการรับมือกับวิกฤตมากกว่าโรงแรมหรูในท้องถิ่น เนื่องจากได้รับแนวทางในการจัดการกับสถานการณ์จากแบรนด์ต้นสังกัด สิ่งสำคัญที่สุดของงานวิจัยฉบับนี้ คือ ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในการจัดการวิกฤตของแต่ละโรงแรมหรูต่อการระบาดของโควิด-19 ตลอด 3 ช่วงของการแพร่ระบาด นอกจากนี้ การศึกษายืนยันถึงการขาดความพร้อมและแผนการจัดการวิกฤตสุขภาพในอุตสาหกรรมโรงแรมจังหวัดภูเก็ต ผู้บริหารโรงแรมสามารถนำกลยุทธ์เหล่านี้มาปรับใช้ให้ตรงกับลักษณะโรงแรม เพื่อการจัดการกับวิกฤตสุขภาพอื่น ๆต่อไปในอนาคตen_US
Appears in Collections:816 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6330121004.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons