Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19212
Title: | Strategies for Value-Added of Food Products with Cultural Capital by Souvenir Shops in Phuket |
Other Titles: | กลยุทธ์ในการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารด้วยทุนทางวัฒนธรรมโดยร้านขายของฝากในจังหวัดภูเก็ต |
Authors: | Yara, Pim Samara Pitchaya Chonpracha Faculty of International Studies คณะวิเทศศึกษา |
Keywords: | Strategies for value-added;Souvenir shops;Cultural capital |
Issue Date: | 2023 |
Publisher: | Prince of Songkla University |
Abstract: | This researcher used qualitative research. The purpose of this research was to study the history of a souvenir shop in Phuket. Second, research methods for developing value-added keepsakes based on local food's cultural capital, and last, research new ideas for planning to generate value-added souvenirs based on local food's cultural capital. In this research focused on the Phuket. The research sample included three Phuket souvenir shops, forty-five customers, and three knowledgeable personnel. Interview forms were used for souvenir store owners, visitors who came to buy souvenirs, and knowledgeable individuals. Determine the criteria for considering the interview draft's conformance evaluation form. Assign points to three levels based on consistency measured by the IOC (Index of Item Objective Congruence). Data analysis involves interpretation, data analysis, conclusions, and discussion. It was discovered that the famous souvenir shop has been open for 80 years. The visibility of business opportunities using cultural capital to add product value requires people skilled and able to use cooking skills handed down from generation to generation. Shop marketing operations Every shop has a unique presentation of Phuket in its products. One thing all shops have in common is that they remain local in terms of recipes, flavors, and production processes. There is a strategy to adjust the distribution method, adjust the proactive plan strategy in E-Commerce or online media, responding to the trend of the elderly society resulting from the epidemic situation that occurred, causing adjustments to create opportunities for selling products online by adjusting production patterns, packaging products to be standardized, product types, and raw materials used to be more diverse. Regarding the new concept of planning to create value-added souvenirs according to the cultural capital of local food, it was found that entrepreneurs see business opportunities that use cultural capital to increase product value. There is an update. Develop the appearance of the product to be modern. From raw materials to packaging design, modify the packaging to be attractive to customers to emphasize product quality preservation that maintains the original, individual packaging for easy portability. Bringing food science into product development Community participation in cultural capital, online sales channels, and competitor information Bringing cultural capital to add value and knowledge in business administration. The target audience will change to be more diverse. Business operations planning becomes more complex. The information must be accurate to make decisions about network systems, various strategies, sales techniques, and distribution channels. The 8P business management experience will be developed as various elements of doing business change according to global social trends. |
Abstract(Thai): | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื ่อ 1) เพื ่อศึกษา ประวัติศาสตร์ของร้านขายของฝากในจังหวัดภูเก็ต 2) เพื่อศึกษากลยุทธ์การเพิ่มมูลค่าของฝากตาม ทุนทางวัฒนธรรมของอาหารท้องถิ ่น และ 3) เพื ่อศึกษาแนวความคิดใหม ่ในการวางแผนสร้าง มูลค่าเพิ่มของของฝากตามทุนวัฒนธรรมของอาหารท้องถิ่น ผู้วิจัยได้เน้นที่พื้นที่จังหวัดภูเก็ตในการศึกษาครั้งนี้ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ มี 3 กลุ ่มเป้าหมาย ได้แก ่ เจ้าของร้านขายของฝาก จ านวน 3 คน นักท ่องเที ่ยวที ่มาซื้อของฝาก จ านวน 45 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ (Interview) ส าหรับ เจ้าของร้าน ขายของฝาก นักท ่องเที ่ยวที ่มาซื้อของฝาก และผู้ทรงคุณวุฒิ ก าหนดเกณฑ์การพิจารณาแบบ ตรวจสอบความสอดคล้องของร่างแบบสัมภาษณ์ ก าหนดคะแนนเป็น 3 ระดับ การพิจารณาความ สอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence : IOC) การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การตีความ วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลและอภิปราย พบว่า ร้านขายของฝากที่มีชื่อเสียงมีการก่อตั้งร้านมายาวนานถึง 80 ปี ปัจจัยส าคัญที่ท าให้ก่อตั้งร้าน การ มองเห็นช่องทางประกอบธุรกิจโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ มีทักษะและได้ใช้ทักษะ การท าอาหารที่ตกทอดจากรุ่นสู่รุ่น การด าเนินการทางการตลาดของร้าน ทุกร้านมีการน าเสนอความเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะของภูเก็ตสอดแทรกในผลิตภัณฑ์ สิ่งหนึ่งที่ทุกร้านเหมือนกันคือ ยังคงความเป็นท้องถิ่นทั้งใน เรื่องของสูตรอาหาร รสชาติและกระบวนการผลิต จากสถานการณ์โรคระบาดที่เกิดขึ้น ท าให้เกิดการ ปรับตัวในการสร้างโอกาสเกี่ยวกับการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ทางออนไลน์ การปรับรูปแบบการผลิต การ บรรจุผลิตภัณฑ์ให้มีมาตรฐาน ชนิดของผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบที่ใช้ ให้มีความหลากหลายมากขึ้น มีการ ปรับยุทธ์วิธีการจัดจ าหน่าย ปรับกลยุทธ์ แผนเชิงรุกด้าน E-Commerce หรือ สื่อออนไลน์ การตอบ รับกระแสสังคมผู้สูงอายุด้านแนวความคิดใหม่ในการวางแผนสร้างมูลค่าเพิ่มของของฝากตามทุน วัฒนธรรมของอาหารท้องถิ่น พบว่า ผู้ประกอบการเห็นช่องทางธุรกิจที่ใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรมมาเพิ่ม มูลค ่าสินค้า มีการปรับปรุง พัฒนารูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ให้ให้ทันยุคสมัย โดยเริ ่มจากวัตถุดิบdesign Packaging ในตัวอาหารเพื่อการปรับเปลี่ยน Packaging ให้เป็นที่น่าสนใจของลูกค้า เน้นใน เรื่องของคุณภาพผลิตภัณฑ์ การเก็บรักษาที่คงไว้ซึ่งความเป็นดั้งเดิม การบรรจุหีบห่อเพื่อความสะดวก ในการพกพา การน าเรื่องของ food science เข้ามาร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการใช้ทุนทางวัฒนธรรม ช่องทางการจ าหน่าย Online ข้อมูลคู่แข่ง การน าทุนทางวัฒนธรรม มาเพิ่มมูลค่า และความรู้ในเชิงบริหารธุรกิจ กลุ่มเป้าหมายจะเปลี่ยนไปมีความหลากหลายมากขึ้น การวางแผนการด าเนินงานทางธุรกิจจะซับซ้อนมากขึ้น ข้อมูลต้องแม ่นย าเพื่อน ามาประกอบการ ตัดสินใจ ระบบเครือข่าย กลวิธีต่าง ๆ เทคนิคการขาย ช่องทางการจัดจ าหน่าย ประสบการณ์เกี่ยวกับ การบริหารธุรกิจ 8P จะถูกพัฒนาเนื่องจากองค์ประกอบต่าง ๆ ของการท าธุรกิจเปลี่ยนไปตามกระแส สังคมโลก |
Description: | Master of Arts (Chinese Language and Culture), 2023 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19212 |
Appears in Collections: | 805 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6330321002.pdf | 1.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License