Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWatsa Khongnakorn-
dc.contributor.authorWiparat Chaipetch-
dc.date.accessioned2023-12-19T06:46:22Z-
dc.date.available2023-12-19T06:46:22Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19210-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Environmental Engineering), 2023en_US
dc.description.abstractPalm oil mill effluent (POME) contains abundant nutrients. The concept of POME treatment and nutrient recovery/removal applied as a sustainable development of wastewater treatment technologies. Two-stage submerged anaerobic membrane bioreactor (2-sAnMBR) combining with forward osmosis membrane (FO) was used to treatment POME. Two types of membranes including a commercial thin film composite (TFC) and cellulose triacetate (CTA), and different concentration of draw solutions which used NaCl as draw solution that including 2.0M, 3.0M and 4.0M were adopted to investigate the separated of nutrient in the permeate two-stage sAnMBR. In this work, the long-term operational control of the two-stage sAnMBR maintained organic loading rate (OLR) of 43, 57 and 99 kgCOD/m3/day in 9 months continuous operation of lab-scale. The formation and accumulation of extracellular polymeric substances (EPS) cause the adherence of biofilms to surfaces membrane. The phase II of two-stage sAnMBR shown polysaccharide and protein content in the cake layer; the ratio of polysaccharide/protein (C/P) was 0.26-0.28. The increasing of OLR led to high F/M ratio meanwhile the EPS concentrate and transmembrane pressure (TMP) was increased. The evolution of TMP indicated that attachment mechanisms, adsorption, and entrapment of protein EPS occurred in the pores of membrane (clogging). Nevertheless, the methanogenesis activity in sAnMBR was inhibited by acidogenesis bacteria due to the accumulated of volatile fatty acid (VFA) that acetic acid was highest about 30% however the calculation of hydrolysis ratio found up to 13.76% in phase III. A high concentration of VFA can inhibit methanogenesis occurred the rising of OLR causing to low methane yield. TFC membrane exhibited higher water permeability in FO process but more loss of water flux in comparison with CTA; the diffusion of Ca2+ ion in CTA, enhanced a cake layer formed on the membrane's active layer. Furthermore, the efficiency of nutrient removal by FO system reported phosphorus and ammonia up to 90-100% thus FO capability can recover nutrients and reduce chemical costs and it can decrease organic/inorganic substances. Moreover, the nutrients; nitrogen, phosphorus, and potassium were the most important of plant fertilizer so the best way to water fertilizer produce.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectTwo-Stage Submerged Anaerobic Membrane Bioreactor (2-sAnMBR)en_US
dc.subjectForward Osmosis Membrane (FO)en_US
dc.subjectPalm Oil Mill Effluent (POME)en_US
dc.titleThe performance of two-stage submerged anaerobic membrane bioreactor (2-sAnMBR) coupling with forward osmosis membrane (FO) for palm oil mill effluent (POME)en_US
dc.title.alternativeประสิทธิภาพของระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนชนิดไร้อากาศแบบสองขั้นตอนร่วมกับกระบวนการฟอร์เวิร์ดออสโมซิสในการ บำบัดน้ำทิ้งจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Civil Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา-
dc.description.abstract-thน้ำทิ้งจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มมีองค์ประกอบของสารอาหารที่หลากหลาย จึงเกิดแนวคิด ของการบำบัดน้ำเสียดังกล่าว และการนำสารอาหารที่ได้จากการบำบัดกลับมาใช้ใหม่และกำจัด วิธีการนี้สามารถพัฒนาเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียเข้าสู่ความยั่งยืนได้ ในการศึกษาได้ใช้ถังปฏิกรณ์ ชีวภาพเมมเบรนแบบไร้อากาศแบบสองขั้นตอนร่วมกับกระบวนการฟอร์เวิรด์ออสโมซิสของเมมเบรน เพื่อบำบัดน้ำทิ้งการจากสกัดน้ำมันปาล์ม โดยมีการเปรียบเทียบประสิทธิของเมมเบรนในเชิงพาณิชย์ สองชนิดคือเมมเบรน thin film composite membrane (TFC) และ cellulose triacetate membrane (CTA) และใช้โซเดียมคลอไรด์เป็นสารละลายดึงในความเข้มข้นที่แตกต่างกันคือ 2.0 3.0 และ 4.0 โมลาร์ การใช้วิธีนี้เพื่อต้องการแยกสารอาหารที่เป็นองค์ประกอบในน้ำทิ้งที่ผ่านการ บำบัดด้วยระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนชนิดไร้อากาศแบบสองขั้นตอน ดำเนินการทดลองใน ระดับห้องปฏิบัติการโดยควบคุมการเดินระบบแบบต่อเนื่องเป็นเวลา 9 เดือน ด้วยอัตราภาระบรรทุก สารอินทรีย์ที่ 43 57 และ 99 กิโลกรัมซีโอดีต่อลูกบาศ์เมตรต่อวัน การก่อตัวและสะสมของสารพอลิ เมอร์นอกเซลล์ ทำให้มีการยึดเกาะของฟิล์มชีวภาพบนพื้นผิวของเมมเบรน พบว่าในระยะที่สองของ การป้อนน้ำเสียเข้าถังปฏิกรณ์ ก่อเกิดปริมาณพอลิแซ็กคาไรด์และโปรตีนในชั้นเค้ก โดยอัตราส่วนของ พอลิแซ็กคาไรด์ต่อโปรตีนเท่ากับ 0.26-0.28 การเพิ่มขึ้นอัตราการป้อนสารอินทรีย์ให้สูงขึ้น ทำให้ อัตราส่วนสารอาหารต่อจุลชีพในถังเพิ่มสูงขึ้นด้วย ขณะเดียวกันความเข้มข้นของสารพอลิเมอร์นอก เซลล์ และความดันในเมมเบรนเพิ่มสูงขึ้นด้วย กล่าวได้ว่าการเปลี่ยนแปลงค่าความดันระหว่างเมม เบรน ก่อให้เกิดกลไกของการยึดเกาะ การดูดซับ และการดักจับของพอลิเมอร์นอกเซลล์ ที่มี องค์ประกอบคือโปรตีน มาอุดตันในรูพรุนของเมมเบรน อย่างไรก็ตามปฏิกิริยาการสร้างมีเทนในถัง ปฏิกรณ์ถูกยับยั้งโดยแบคทีเรียกลุ่มผลิตกรด เนื่องจากการสะสมของกรดไขมันระเหยง่ายในรูปกรด อะซิติกสูงถึง 30 เปอร์เซ็นต์ และทำการคำนวณอัตราส่วนของการเกิดไฮโดรไลซิสพบว่าสูงถึง 13.76 เปอร์เซ็นต์ ในเฟสสาม และทำให้เกิดการผลิตก๊าซมีเทนลดลง จากการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเมมเบรนชนิด TFC กับ CTA พบว่าเมมเบรนชนิด TFC มีผลการซึมผ่านของน้ำได้สูงในกระบวนการ ฟอร์เวิรด์ออสโมซิส แต่สูญเสียฟลักซ์ของน้ำมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับเมมเบรน CTA เพราะ CTA เกิดการแพร่กระจายของแคลเซียม ไอออน จึงก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของชั้นเค้กบนชั้นผิวของเมมเบรน (active layer) นอกจากนี้กระบวนการฟอร์เวิรด์ออสโมซิสสามารถกำจัดสารอาหารในน้ำทิ้งที่ผ่าน การบำบัดแบบสองขั้นตอน โดยให้ประสิทธิภาพการกำจัดฟอสฟอรัสและแอมโมเนียได้สูงถึง 90-100 เปอร์เซนต์ ดังนั้น กระบวนการฟอร์เวิรด์ออสโมซิสสามารถคัดแยกและนำสารอาหารกลับคืนได้ และ ลดต้นทุนของสารเคมี และสามารถลดสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ได้ อย่างไรก็ตาม สารอาหาร จำพวกไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียมเป็นปุ๋ยที่สำคัญสำหรับพืช ดังนั้นการผลิตเป็นปุ๋ยน้ำจึง เป็นทางเลือกที่ดีen_US
Appears in Collections:220 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310130011.pdf10.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons