Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณฐ อังศุวิริยะ-
dc.contributor.authorสุวิมล เวชวิโรจน์-
dc.date.accessioned2023-12-19T04:39:55Z-
dc.date.available2023-12-19T04:39:55Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19208-
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทยและภาษาไทยประยุกต์), 2566en_US
dc.description.abstractThe purpose of this research aims to analyze the structure of communication situations in Chanting the Phra Malai and language that reflects culture from it. It used qualitative research method and had a group of population and a group of key informants derived from chanting group and the audience group. The researcher selected key informants using purposive sampling. This research had used the ethnographic theory of communication based on the SPEAKING framework of Del Heims to analyze the communication situations in chanting the Phra Malai. There are classified into 3 communication situations as following; chanting the Phra Malai at the funerals, public, and private events. The tools used in the research were documentary data, video recordings of the Phra Malai chanting and handwritten manuscripts, in-depth interviews and field observations. The findings showed that originally, Phra Malai chanting was only available at funerals in Surat Thani province. At present, there is an expansion of the prayer area to preserve the tradition, it will be chanted in the public and private events. Moreover, the structure of the communication situations in chanting the Phra Malai is a kind of communication for specific groups. Therefore, the nature of language is specific which is during and odds and ends chapters that will be used in funeral ceremonies, whereas when chanting Phra Malai is performed in public, and private events, only the odds and ends chapter is chanted. The chanting of Phra Malai has different characteristics. It is essential to understand the nature of the event, from the setting, the communicators, the purpose of the event, the sequence of the speech act, the tone, the communication tools, the norms of interaction, and the type of communication in each pattern of chanting Phra Malai in each situation. Language analysis that reflects culture can be classified into four aspects as follows; firstly, the language that reflects belief culture is based on Buddhist doctrines and superstitions. Secondly, the language that reflects the culture of local wisdom includes natural livelihoods, transportation, household architecture, tools, time signs, costumes, musical instruments, and funeral customs. Thirdly, the language that reflects the language culture that appears in the Phra Malai script is idioms, proverbs, pronouns according to the status of the speaker and those speaking with, use analogy, dialect and Pali language. Fourthly, the language that reflects the values of the culture are self-preservation and women's beauty values.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectChanting the Phra Malaien_US
dc.subjectEthnography of Communicationen_US
dc.subjectวัฒนธรรมไทยen_US
dc.subjectการสื่อสารen_US
dc.titleสวดพระมาลัย : การศึกษาตามแนวชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสารen_US
dc.title.alternativeThe Tradition of the Phra Malai : A Study of the Ethnography Of Communicationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Liberal Arts (Languages and Linguistics)-
dc.contributor.departmentคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างสถานการณ์การสื่อสารในการสวดพระมาลัย และภาษาที่สะท้อนวัฒนธรรมจากการสวดพระมาลัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีกลุ่มประชากรและกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ กลุ่มคนสวดพระมาลัย และกลุ่มผู้ชม ผู้วิจัยเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบบเจาะจง โดยใช้ทฤษฎีชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสารตามกรอบ SPEAKING ของเดล ไฮมส์มาวิเคราะห์สถานการณ์การสื่อสารในการสวดพระมาลัย จำแนกการศึกษาออกเป็น 3 สถานการณ์การสื่อสาร คือ การสวดพระมาลัยในงานพิธีศพ งานตามส่วนราชการและงานเอกชน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้อมูลเอกสาร แผ่นบันทึกภาพเคลื่อนไหวการสวดพระมาลัย ตัวบทพระมาลัยฉบับลายมือเขียน การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตการณ์ภาคสนาม ผลการวิจัยพบว่า แต่เดิมที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีการสวดพระมาลัยมีเฉพาะในงานศพเท่านั้น หากปัจจุบันมีการขยายพื้นที่สวดพระมาลัยเพื่ออนุรักษ์ประเพณีออกไปเป็นการสวดในส่วนราชการและเอกชน โครงสร้างสถานการณ์การสื่อสารในการสวดพระมาลัย จัดว่าเป็นการสื่อสารประเภทการแสดงเฉพาะกลุ่มคนที่สนใจ ดังนั้นลักษณะของภาษาจึงมีความจำเพาะเจาะจง ในที่นี้ คือบทในกาลและบทลำนอกใช้สวดพระมาลัยในงานพิธีศพ ในขณะที่เมื่อนำการสวดพระมาลัยไปแสดงในส่วนราชการและงานเอกชนจะสวดเฉพาะบทลำนอกเท่านั้น กล่าวได้ว่าการสวดพระมาลัย มีลักษณะที่แตกต่างกัน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจลักษณะของแต่ละงานตั้งแต่ ฉาก ผู้ร่วมสื่อสาร จุดมุ่งหมายของการจัดงาน การลำดับวัจนกรรม น้ำเสียง เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสาร บรรทัดฐานของปฏิสัมพันธ์ และประเภทของการสื่อสารในแต่ละแบบแผนการสื่อสารของการสวดพระมาลัยในแต่ละสถานการณ์การสื่อสาร การวิเคราะห์ภาษาที่สะท้อนวัฒนธรรมสามารถจำแนกออกเป็น 4 ประการ คือ ประการแรก ภาษาที่สะท้อนวัฒนธรรมด้านความเชื่อ ได้แก่ ความเชื่อตามหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา และความเชื่อทางไสยศาสตร์ ประการที่สอง ภาษาที่สะท้อนวัฒนธรรมทางด้านภูมิปัญญาพื้นบ้าน ได้แก่ วิถีชีวิตตามธรรมชาติ การคมนาคม สถาปัตยกรรมบ้านเรือน เครื่องมือเครื่องใช้ สัญญาณบอกเวลา การแต่งกาย เครื่องดนตรี และธรรมเนียมการทำศพ ประการที่สาม ภาษาที่สะท้อนวัฒนธรรมทางภาษาที่ปรากฏในตัวบทพระมาลัย ได้แก่ สำนวนสุภาษิต คำเรียกความสัมพันธ์ของคน พูดแบบใช้ความเปรียบ ภาษาถิ่น และภาษาบาลี และประการที่สี่ ภาษาที่สะท้อนวัฒนธรรมทางด้านค่านิยม ได้แก่ รักนวลสงวนตัว และค่านิยมความงามของผู้หญิงen_US
Appears in Collections:890 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6411120010.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons