Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19205
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วินีกาญจน์ คงสุวรรณ | - |
dc.contributor.author | สุริยา ยอดทอง | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-19T04:27:04Z | - |
dc.date.available | 2023-12-19T04:27:04Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19205 | - |
dc.description | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | This quasi-experimental study aimed to examine the effect of on enhancing posttraumatic growth program on happiness among survivors from unrest situations in the southernmost provinces, Thailand. Participants comprised 60 survivors aged 20 - 60 years who met the inclusion criteria. The participants were assigned to the experimental or control group, thirty participants in each group. The research instruments consisted of (1) the Enhancing Posttraumatic Growth program based on the conceptual framework of Tedeschi & Calhoun and literature reviews; five sessions were provided over 5 weeks with each session lasting 90 minutes, (2) the demographic data questionnaire, and (3) a happiness questionnaire. Content validity of the instrument part 1 and 2 was verified by three experts. The reliability of the happiness questionnaire was tested using Cronbach’s alpha coefficient, yielding a value of .83. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square, paired t-test and independent t-test. The results showed that the experimental group after participating in the Enhancing Posttraumatic Growth program (M=34.43, SD.=1.478)had significantly higher mean score of happiness than that before participation in the program (M=28.95, SD.=1.402) (t=16.007, p < .001). In addition, the experimental group after participating in the Enhancing Posttraumatic Growth program (M=34.43, SD.=1.478) had significantly higher mean score of happiness than the control group who did not received the program (M=29.67, SD=1.807) (t=11.184, p < .001). Therefore, health-care personnel could apply the Enhancing Posttraumatic Growth program to increase happiness among survivors following exposure to traumatic lasting in the future. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การเติบโตภายหลังได้รับบาดเจ็บทางจิตใจ | en_US |
dc.subject | ความสุข | en_US |
dc.subject | สถานการณ์ความไม่สงบ | en_US |
dc.subject | Enhancing Posttraumatic Growth | en_US |
dc.subject | Happiness | en_US |
dc.subject | Unrest Situations | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมเสริมสร้างการเติบโตภายหลังได้รับบาดเจ็บทางจิตใจต่อความสุขของผู้รอดชีวิตจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ชายแดนใต้ของไทย | en_US |
dc.title.alternative | The Effect of the Enhancing Posttraumatic Growth Program on Happiness Among Survivors from Unrest Situations in the Southernmost Provinces, Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Nursing (Psychiatric Nursing) | - |
dc.contributor.department | คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรม เสริมสร้างการเติบโตภายหลังได้รับบาดเจ็บทางจิตใจต่อความสุขของผู้รอดชีวิตจากสถานการณ์ความ ไม่สงบในพื้นที่ชายแดนใต้ของไทย กลุ่มตัวอย่างมีอายุ 20-60 ปี จ านวน 60 คน กลุ่มตัวอย่างผ่านการ คัดเลือกคุณสมบัติตามที่ผู้วิจัยก าหนด แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คนและกลุ่มควบคุม 30 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) โปรแกรมเสริมสร้างการเติบโตภายหลังได้รับบาดเจ็บทางจิตใจ ตาม แนวคิดของ เทเดสชิและคาลฮอน มีการด าเนินกิจกรรม 5 กิจกรรม ๆ ละ 90 นาที ระยะเวลา 5 สัปดาห์ (2) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป (3) แบบสอบถามความสุข เครื่องมือที่ 1 และ 2 ผ่านการ ตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิจ านวน 3 ท่าน เครื่องมือแบบสอบถามความสุขผ่านการตรวจสอบความ เที่ยง โดยใช้วิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ได้ค่า ความเที่ยง .83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยค านวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ ไคสแควร์ สถิติ paired t-test และสถิติ independent t-test ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมโปรแกรมเสริมสร้างการเติบโตภายหลังได้รับ บาดเจ็บทางจิตใจมีคะแนนเฉลี่ยคะแนนความสุข (M=34.43, SD=1.478) สูงกว่าก่อนที่ได้เข้าร่วม โปรแกรม (M=28.95, SD=1.402) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (t=16.007, p < .001) และกลุ่มทดลอง หลังได้รับโปรแกรมเสริมสร้างการเติบโตภายหลังได้รับบาดเจ็บทางจิตใจ มีคะแนนเฉลี่ยความสุข (M-=34.43, SD=1.478) สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับโปรแกรม (M=29.67, SD=1.807) อย่างมี ความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (t=11.184, p < .001) ดังนั้นบุคลากรทางสุขภาพจึงควร น าโปรแกรมเสริมสร้างการเติบโตภายหลังได้รับบาดเจ็บทางจิตใจประยุกต์ใช้เพิ่มความสุขให้กับ ผู้ได้รับบาดเจ็บทางจิตใจต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | 647 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5810420039.pdf | 1.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License