Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19186
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุธินี สินุธก-
dc.contributor.authorพิมพ์รัก ม่วงแก้ว-
dc.date.accessioned2023-12-18T07:16:41Z-
dc.date.available2023-12-18T07:16:41Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19186-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง), 2565en_US
dc.description.abstractCoral bleaching events in global and regional scales have seriously affected on coral mortality and their ability to recover. There is spatial variability in bleaching response in Thai’s water reefs based on their thermal history or environmental conditions. In cellular scale, coral and its zooxanthellae would be able to adapt or resist to environmental conditions such as higher sea surface temperature and light. The aim of this study was to investigate the effects of elevated temperature and light on photosynthesis and growth of zooxanthellae from different environmental conditions and Study the trend of coral recovery when exposed to light stress and increased temperature of Pocillopora acuta. Coral nubbins from different environmental condition, Maiton Island and Panwa Cape, Phuket, Thailand were collected and exposed to two experimental sets: increasing of temperature and light response experiment and limiting of temperature experiment. The results showed that synergistic effects of stress were observed on P. acuta from both sites decreased photosynthesis performance, loss of zooxanthellae association and reduction of chlorophyll concentration, especially HTAL, HTHL and 33ºC treatments. They were always elevated temperature which was the main factor affecting coral and minor factor was light. In addition, coral growth was gradually reduced, weakened, discolored and some corals nubbins were covered with algae, especially, coral nubbins from Maiton Island. However, coral nubbins from Panwa Cape showed an ability to recover when temperature was reduced. Therefore, we suggested that corals from Panwa Cape was more resistant than Maiton Island under same stressors leading to difference capacity to survive after coral bleaching event.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectcoral bleachingen_US
dc.subjectlight stressen_US
dc.subjectheat stressen_US
dc.subjectPAM fluorometryen_US
dc.subjectclimate change, Thailanden_US
dc.subjectความเครียดจากเเสงและอุณหภูมิen_US
dc.subjectการเปลี่ืยนแแปลงสภาพภูมิอากาศen_US
dc.subjectปะการังฟอกขาวen_US
dc.titleการตอบสนองของปะการังต่อการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิและแสงen_US
dc.title.alternativeResponses of Coral Holobiont to Elevated Temperature and Lighten_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentMarine and Coastal Resources Institute-
dc.contributor.departmentสถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง-
dc.description.abstract-thปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวในระดับโลกและระดับภูมิภาคส่งผลอย่างร้ายแรงต่อการตาย ของปะการังและความสามารถในการฟื้นตัวของปะการัง การฟอกขาวของปะการังในน่านน้ำไทยใน แต่ละพื้นที่มีการตอบสนองต่อการฟอกขาวที่แตกต่างกันตามประสบการณ์ของการได้รับความเครียด จากอุณหภูมิ (thermal history) หรือสภาพแวดล้อมต่าง ๆ โดยในระดับเซลล์และภายนอกเซลล์ ปะการังและซูแซนเทลลีสามารถปรับตัวหรือต้านทานต่อสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของอุณหภูมิและแสงต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงและ การเจริญเติบโตของซูแซนเทลลีที่มาจากสภาพแวดล้อมต่างกันและศึกษาแนวโน้มการฟื้นตัวของ ปะการัง เมื่อได้รับความเครียดจากแสงและอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นของปะการัง Pocillopora acuta โดย เลือกพื้นที่ศึกษาบริเวณเกาะไม้ท่อนและแหลมพันวา จังหวัดภูเก็ต ซึ่งทั้งสองพื้นที่ศึกษามี สภาพแวดล้อมที่ต่างกันและนำชิ้นส่วนของปะการังมาชักนำความเครียดด้วยการทดลองการ ตอบสนองต่ออุณหภูมิและแสงและการทดลองขีดจำกัดของอุณหภูมิจากผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพการสังเคราะห์ด้วยแสง ความหนาแน่นของซูแซนเทลลี และปริมาณรงควัตถุภายใน เซลล์ซูแซนเทลลีของปะการังทั้งสองพื้นที่ศึกษาลดลงอย่างต่อเนื่อง เมื่อมีการชักนำความเครียด โดยเฉพาะชุดการทดลอง HTAL ชุดการทดลอง HTHL และชุดการทดลอง 33ºC ที่ได้รับการสะสม ความเครียดอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยของการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ ส่งผลกระทบต่อปะการัง ส่วนแสงเป็นปัจจัยรองลงมาที่ส่งผลกระทบต่อแนวปะการัง นอกจากนี้ยัง ส่งผลให้การเจริญเติบโตปะการังค่อย ๆ ช้าลงจนในที่สุดปะการังอ่อนแอ สีของเนื้อเยื่อซีดลดและตาย ในที่สุด โดยเฉพาะปะการังบริเวณเกาะไม้ท่อน อย่างไรก็ตามปะการังบริเวณแหลมพันวาสามารถฟื้น ตัวได้เมื่อสภาพแวดล้อมกลับเข้าสู่สภาวะปกติ และปะการังบริเวณแหลมพันวามีความต้านทาน มากกว่าปะการังบริเวณเกาะไม้ท่อน เมื่อได้รับแรงกดดันของปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมเดียวกันจึงส่งผลให้ แนวโน้มการฟื้นตัวและสามารถอยู่รอดหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวen_US
Appears in Collections:169 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6010023004.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons