Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ อินทนา-
dc.contributor.authorสุไรยา เจริญเระ-
dc.date.accessioned2023-12-18T06:43:32Z-
dc.date.available2023-12-18T06:43:32Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19180-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ), 2565en_US
dc.description.abstractRecently modern society technology is involved in the daily life of all humans. This allows developers to create new concepts and technology designs in order to respond to users’ requirements. Therefore, this causes the system development to become more complex. Consequently, it leads to a high possibility of system errors. Therefore, software testing is an important aspect to guarantee users that the developed system is error-free. In user acceptance and system testing, test cases are normally generated from the software requirements specification (SRS). As the SRS is written in a natural language which has an uncertain structure, it can possibly be ambiguous. As a result, this may cause the wrong interpretation of the requirements and finally it can allow the occurrence of incorrect test case generation. This research proposes a framework of test case generation with software requirements ontology to enhance the reliability of existing verification and validation (V&V) techniques. This framework uses ontology and Control Natural Languages (CNL) to represent the semantics of functional requirements in SRS documents in order to increase the structure of natural language. Furthermore, the effective black-box testing technique, Combination of Equivalence and Classification Tree Method (CCTM), is included in this framework. This testing technique enables test case coverage and reduction compared with other testing techniques. This results in the generated test cases to be more accurate and efficienten_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectSoftware Testingen_US
dc.subjectSoftware Requirements Specificationen_US
dc.subjectOntologyen_US
dc.subjectTest Caseen_US
dc.subjectEquivalence and Classification Tree Methoden_US
dc.subjectการทดสอบซอฟต์แวร์en_US
dc.subjectข้อกำหนดคุณลักษณะความต้องการซอฟต์แวร์en_US
dc.subjectออนโทโลยีen_US
dc.subjectกรณีทดสอบen_US
dc.subjectการแบ่งชั้นสมมูลและต้นไม้การจำแนกen_US
dc.titleกรอบแนวคิดสำหรับการสร้างกรณีทดสอบด้วยออนโทโลยีความต้องการซอฟต์แวร์en_US
dc.title.alternativeA Framework of Test Case Generation with Software Requirements Ontologyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentCollege of Computing (Information Technology)-
dc.contributor.departmentวิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ-
dc.description.abstract-thในยุคปัจจุบันเป็นยุคที่เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์โดยสิ้นเชิง ทำให้นักพัฒนาเกิดแนวคิดและออกแบบเทคโนโลยีใหม่ ๆ ขึ้นมามากมายเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน แต่มีหลายครั้งที่ระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใหม่นั้นเกิดข้อผิดพลาดจากกระบวนการที่ไม่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทำให้นักพัฒนาต้องกลับมาทวนสอบระบบใหม่อีกครั้งเพื่อหาข้อผิดพลาด ดังนั้นขั้นตอนในการทดสอบซอฟต์แวร์จึงมีความสำคัญในการทำให้ผู้ใช้มั่นใจได้ว่าระบบที่พัฒนาขึ้นมานั้นมีคุณภาพและไม่เกิดความผิดพลาดในระหว่างการใช้งาน ในการทดสอบการยอมรับจากผู้ใช้และการทดสอบระบบ นักทดสอบจะใช้เอกสารข้อกำหนดคุณลักษณะความต้องการซอฟต์แวร์ในการสร้างกรณีทดสอบ ซึ่งเอกสารจะถูกเขียนขึ้นด้วยภาษาธรรมชาติทำให้ข้อกำหนดความต้องการที่ระบุในเอกสารมีโครงสร้างที่ไม่ชัดเจน ส่งผลให้การสร้างกรณีทดสอบไม่ได้มาตรฐานและเกิดข้อผิดพลาดในระหว่างการทดสอบซอฟต์แวร์ ดังนั้นในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยจึงได้นำเสนอกรอบแนวคิดสำหรับการสร้างกรณีทดสอบด้วยออนโทโลยีความต้องการซอฟต์แวร์ที่ถูกใช้แทนความหมายของข้อกำหนดความต้องการและการประยุกต์ใช้เครื่องมือภาษาธรรมชาติควบคุม เพื่อให้ความต้องการมีโครงสร้างที่ชัดเจนก่อนนำไปสร้างกรณีทดสอบ รวมถึงผู้วิจัยได้พิจารณาเทคนิคการทดสอบแบบกล่องดำที่มีประสิทธิภาพ คือ เทคนิคการรวมกันของชั้นสมมูลและต้นไม้การจำแนกมาใช้ เพื่อให้การสร้างกรณีทดสอบมีความครอบคลุมและลดความซ้ำซ้อน ส่งผลให้กรณีทดสอบที่ได้มีความถูกต้องแม่นยำ และทำให้การทดสอบมีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการของผู้ใช้งานมากยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:976 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6030223005.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons