Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19152
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญโรม สุวรรณพาหุ | - |
dc.contributor.author | อนาวิน อาจเส็ม | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-06T08:22:27Z | - |
dc.date.available | 2023-12-06T08:22:27Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19152 | - |
dc.description | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การ บรรยากาศองค์การ คุณภาพชีวิตในการทำงาน และวัฒนธรรมองค์การของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) ตรวจสอบความตรงของโมเดลอิทธิพลเชิงสาเหตุความผูกพันต่อองค์การของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3) ศึกษาอิทธิพลเชิงสาเหตุความผูกพันต่อองค์การของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้วิธีวิจัยการศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ข้าราชการครู จำนวน 557 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามบรรยากาศองค์การ แบบสอบถามคุณภาพชีวิตในการทำงาน และแบบสอบถามวัฒนธรรมองค์การ ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติสำหรับสถิติบรรยาย วิเคราะห์การตรวจสอบความตรงของโมเดล และอิทธิพลเชิงสาเหตุด้วยโปรแกรม LISREL ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ 1) ความผูกพันต่อองค์การของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยรวมอยู่ในระดับสูงมาก (𝑥̅=4.50, S.D.= .32) บรรยากาศองค์การอยู่ในระดับดีมาก (𝑥̅=4.25, S.D.= .58) คุณภาพชีวิตในการทำงาน และวัฒนธรรมองค์การอยู่ในระดับมาก (𝑥̅=4.32, S.D.= .41), (𝑥̅=4.47, S.D.= .50) ตามลำดับ 2) โมเดลอิทธิพลเชิงสาเหตุความผูกพันต่อองค์การของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วยตัวแปรแฝง 4 ตัว ได้แก่ ความผูกพันต่อองค์การ บรรยากาศองค์การ คุณภาพชีวิตในการทำงาน และวัฒนธรรมองค์การ ตัวแปรแฝงทั้งหมดวัดจากตัวแปรสังเกตได้จำนวน 21 ตัวแปร โดยพบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมี Chi-square = 179.20, df = 153, p = 0.07, RMSEA = 0.02, RMR = 0.01, GFI = 0.97 และ AGFI = 0.96 โดยตัวแปรทั้งหมดร่วมกันพยากรณ์ความผูกพันต่อองค์การของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ร้อยละ 78 3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงต่อความผูกพันต่อองค์การของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ บรรยากาศองค์การ และคุณภาพชีวิตในการทำงาน และปัจจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อความผูกพันต่อองค์การของครู ได้แก่ วัฒนธรรมองค์การ และบรรยากาศองค์การ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ ครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.subject | อิทธิพลเชิงสาเหตุ | en_US |
dc.title | อิทธิพลเชิงสาเหตุความผูกพันต่อองค์การของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.title.alternative | The Causal Influence on the Organizational Commitment of Teachers in the Three Southern Border Provinces | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Education (Psychology and Counseling) | - |
dc.contributor.department | คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว | - |
dc.description.abstract-th | The research had three objectives: 1) To study organizational commitment level, organizational climate, quality of work, and organizational culture of teachers in Thailand’s Three Southern Border Provinces; 2) To investigate the causal influence on the organizational commitment’s model validity of the teachers in the Three Southern Border Provinces; 3) To study the causal influence on the organizational commitment’s model validity of the teachers in the Three Southern Border Provinces. The research method was the causal relationship investigation. The sample was 557 government teachers from the Three Southern Border Provinces. The research instruments consisted of the organizational commitment questionnaire, the organizational climate questionnaire, the quality of work questionnaire, and the organizational culture questionnaire. The data were analyzed by statistical methods for the descriptive data, model validity investigation, and the causal influences through the LISREL program.The findings were concluded as follows: 1) The organizational commitment level of the teachers in the Three Southern Border Provinces was very high (𝑥̅=4.50, S.D.= .32), the organizational climate was very good (𝑥̅=4.25, S.D.= .58), the quality of work and the organizational culture were high (𝑥̅=4.32, S.D.= .41), (𝑥̅=4.47, S.D.= .50), respectively. 2) The causal influence on the organizational commitment model consisted of four extraneous variables: the organizational commitment, the organizational climate, the quality of work, and the organizational culture. Those variables were measured from 21 observed variables. It was found that the model was following the empirical data. As Chi-square = 179.20, df = 153, p = 0.07, RMSEA = 0.02, RMR = 0.01, GFI = 0.97, and AGFI = 0.96, they could forecast the organizational commitment of the teachers in the Three Southern Border Provinces that was 78 percent. 3) The direct causal influences on the organizational commitment of the teachers in the Three Southern Border Provinces were the organizational climate and the quality of work, and the indirect influences were the organizational culture and the organizational climate, with the significance level at 0.1 level | en_US |
Appears in Collections: | 286 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6420121010.pdf | 2.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License