Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19149
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Zainee Waemusa | - |
dc.contributor.author | Piyaporn Phetsut | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-06T07:40:20Z | - |
dc.date.available | 2023-12-06T07:40:20Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19149 | - |
dc.description | Master of Arts (Teaching English as an International Language), 2022 | en_US |
dc.description.abstract | Nowadays, digital technology is still growing and mobile phones are frequently utilized for EFL teaching and learning. However, integrating mobile phone in to improve oral accuracy in Thai school settings is still rare. In this work, a Mobile Assisted Language Learning (MALL) as instructional intervention with dynamic assessment was studied by using a quasi-experimental method. This mixed-method study sought to determine how well the MDA intervention affected the oral accuracy of Thai EFL learners utilizing WhatsApp and investigated students’ perception toward the MDA intervention. With the two instruments for choosing the participants, Survey Questionnaire and English Language Level Test, thirty students from a secondary school in southern Thailand were chosen through purposeful sampling and assigned to the low and high English proficiency groups. In addition, six instruments, namely the teacher’s handbook, the student’s handbook, oral pre-test and oral post-test, five speaking tasks, perception questionnaire, and semi-structured interviews, were applied in this study. In the treatment section, the participants completed five oral tasks through the designed intervention on WhatsApp to develop their oral accuracy. The quantitative and qualitative data were collected to examine the students’ speaking development and the perception of students by using pre- and post-tests, questionnaire, and semi-structured interviews after the implementation of MDA. Within the same groups, the results revealed a statistically significant difference between the pre-test and post-test following the application of the MALL-based intervention (p =.00). In comparing between the two groups, the results showed no significant difference between the two groups (p = .97). It can be concluded that the MDA intervention could level up EFL leaners’ oral accuracy for both high and low English proficiency groups. The learners also showed the positive perception toward MDA after the intervention in many aspects, namely learning affordances during the MDA intervention, the reinforcement from a teacher, the effectiveness of MDA, and the development of learners’ oral accuracy. With the positive perception and effectiveness of the MALL-designed intervention to develop oral accuracy, this study offers helpful advice on how to use mobile devices as possible way in Thai language teaching effectively. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Prince of Songkla University | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Mobile-based dynamic assessment | en_US |
dc.subject | oral accuracy | en_US |
dc.subject | EFL | en_US |
dc.subject | English language Study and teaching (Secondary) | en_US |
dc.title | A Study of Using Mobile-Based Dynamic Assessment to Develop High and Low Proficiency Thai EFL Learners’ Oral Accuracy and Their Perceptions | en_US |
dc.title.alternative | การศึกษาการใช้รูปแบบ Mobile-Based Dynamic Assessment เพื่อพัฒนาความถูกต้องของการใช้ภาษาในการพูดภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศของนักเรียนไทยที่มีทักษะภาษาอังกฤษในระดับสูงและต่ำและการศึกษาการรับรู้ของนักเรียนต่อรูปแบบดังกล่าว | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Liberal Arts (Languages and Linguistics) | - |
dc.contributor.department | คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | ปัจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลยังคงเติบโตอย่างรวดเร็ว และมีการประยุกต์ใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อการเรียนการสอนในบริบทการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศอย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตามการประยุกต์ใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อพัฒนาความถูกต้องในการพูดภาษาอังกฤษในบริบทโรงเรียนไทยยังเป็นเรื่องที่หาได้ยาก งานวิจัยนี้ใช้รูปแบบ quasi-experimental design เพื่อศึกษาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษที่ได้รับความช่วยเหลือผ่านการใช้อุปกรณ์พกพา นำมาผสมผสนกับ Dynamic Assessment หรือ การประเมินแบบไดนามิก เพื่อพิจารณาว่ารูปแบบ Mobile-Based Dynamic Assessment (MDA) ส่งผลต่อความถูกต้องของการใช้ภาษาในการพูดของนักเรียนไทยที่มีระดับความสามารถภาษาอังกฤษที่แตกต่างกันได้ดีเพียงใด ผ่านตัวกลางแอปพลิเคชัน WhatsApp อีกทั้งยังศึกษาการรับรู้ของนักเรียนต่อ MDA ในการพัฒนาความถูกต้องในการพูดของนักเรียน การดำเนินการทดลองแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกผู้วิจัยใช้เครื่องมือ 2 ชนิด ได้แก่ แบบสำรวจการมีโทรศัพท์มือถือพร้อมและแบบทดสอบวัดระดับภาษาอังกฤษ สำหรับการเลือกกลุ่มตัวอย่างการทดลองประกอบด้วยนักเรียน 30 คนจากโรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทยที่มีคุณสมบัติตามจุดประสงค์การทดลองได้ถูกเลือกเป็นกลุ่มตัวอย่าง ส่วนที่ 2 ผู้วิจัยใช้เครื่องมือ 6 ชนิดได้แก่ คู่มือครู คู่มือนักเรียน แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบฝึกหัดฝึกฝนการพูดสำหรับ 5 สัปดาห์ผ่านแอปพลิเคชัน WhatsApp เพื่อพัฒนาความถูกต้องของการใช้ภาษาในการพูด และส่วนสุดท้ายใช้เครื่องมือ 2 ชนิดได้แก่ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเพื่อศึกษาการรับรู้ของนักเรียนต่อการใช้ MDA หลังจากการฝึกฝนผ่านรูปแบบ MDA เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพื่อตรวจสอบพัฒนาการด้านการพูดของนักเรียนและการรับรู้ของนักเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างและนำมาวิเคราะห์ ผลการทดสอบเผยให้เห็นมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p =.00) ระหว่างการทดสอบก่อนและหลังการฝึกฝนโดยใช้ MDA ของนักเรียนภายในกลุ่มเดียวกัน ทว่าเมื่อเปรียบเทียบค่าพัฒนาความถูกต้องของการใช้ภาษาในการพูดระหว่างทั้งสองกลุ่ม (กลุ่มที่มีระดับความสามารถภาษาอังกฤษสูงและต่ำ) ปรากฏว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างทั้งสองกลุ่ม (p = .97) สรุปได้ว่าการแทรกแซงของ MDA สามารถเพิ่มระดับความถูกต้องของการใช้ภาษาในการพูดของนักเรียนไทยที่มีความสามารถทางภาษาอังกฤษทั้งสองกลุ่มได้ในระดับที่เท่า ๆ กัน ไม่มีความแตกต่างกันระหว่างสองกลุ่ม นอกจากนี้ผู้เรียนยังแสดงการรับรู้เชิงบวกต่อ MDA ภายหลังการได้รับการฝึกฝน ทั้งในด้านแหล่งเรียนรู้ การเสริมแรงจากครู ประสิทธิภาพของ MDA และการพัฒนาความถูกต้องของการใช้ภาษาในการพูดของผู้เรียน ด้วยการรับรู้เชิงบวกและประสิทธิผล MDA เพื่อพัฒนาดังกล่าว การศึกษานี้สามารถให้คำแนะนำเชิงปฏิบัติการที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์พกพาในการสอนภาษาสำหรับนักเรียนไทยอย่างมีประสิทธิผล การวิจัยนี้ยังระบุหลักการนำแนวทางดังกล่าวไปใช้งานในการเรียนการสอน รวมถึงเสนอแนะประเด็นการศึกษาแนวทางดังกล่าวในอนาคต | en_US |
Appears in Collections: | 890 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6111121017.pdf | 12.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License