Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19145
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chaimongkon Peampring | - |
dc.contributor.author | Kanyakorn Charoenphol | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-06T06:38:45Z | - |
dc.date.available | 2023-12-06T06:38:45Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19145 | - |
dc.description | Master of Science (Oral Health Sciences), 2022 | en_US |
dc.description.abstract | Background and objectives: With the advent of computer-aided design and computer-aided manufacturing, a novel technique for fabricating complete dentures has evolved. Digital complete denture fabrication can be accomplished by an additive or subtractive approach which minimal distortion during processing contributes to effective denture base adaption, which leads to good denture retention. The aim of this study was to compare the accuracy of milled and 3D-printed complete denture bases. Materials and Methods: The reference edentulous maxillary arch model was scanned to generate virtual denture bases using computer-aided manufacturing (CAD) software that exports as standard tessellation language (STL) files. Denture bases were constructed using a milling and printing technique called digital light processing (DLP) (10 specimens per technique). Denture bases' intaglio surfaces were scanned and superimposed on the reference model. The accuracy was quantified as root mean square error (RMSE) and evaluated statistically using independent T-test comparisons with a significance level of 0.05. Results: The measurement area was divided into three regions. Milled dentures were significantly more accurate than 3D-printed dentures in the overall intaglio area and primary bearing area of denture bases. Denture bases printed demonstrated significantly greater accuracy than milling dentures in the peripheral/posterior palatal seal area. Conclusion: According to the study's findings, milled dentures fit better in the overall and primary stress-bearing areas than 3D-printed dentures, while 3D-printed dentures appeared more accurate in the peripheral seal area. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Prince of Songkla University | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | CAD/CAM | en_US |
dc.subject | 3D-printing | en_US |
dc.subject | milling | en_US |
dc.subject | complete denture | en_US |
dc.title | Comparison Accuracy of Complete Denture Base Fabrication by CAD/CAM Milled Technique and 3D-Printed: An In Vitro Study | en_US |
dc.title.alternative | การเปรียบเทียบความถูกต้องของฐานฟันเทียมทั้งปากระหว่างผลิตด้วยวิธีการกลึงด้วยเทคนิคแคดแคมและการสร้างต้นแบบเร็ว (พิมพ์สามมิติ): การศึกษาในห้องปฏิบัติการ | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Dentistry (Prosthetic Dentisty) | - |
dc.contributor.department | คณะทันตแพทยศาสตร์ ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์ | - |
dc.description.abstract-th | วัตถุประสงค์: การศึกษานี้ทําเพื่อเพื่อเปรียบเทียบความถูกต้องของฐานฟันเทียมทั้งปากผลิตด้วยวิธีการกลึงและการพิมพ์สามมิติ วัสดุและวิธีการ: นําแบบจําลองอ้างอิงสันเหงือกไร้ฟันบนมาแปลงข้อมูลดิจิทัลโดยสแกนด้วยเครื่องแสแกนนอกช่องปาก กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 20 ชิ้น แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ผลิตด้วยวิธีการกลึง และผลิตด้วยการพิมพ์สามมิติผลิตตามคําแนะนําของผู้ผลิต วัดความถูกต้องด้วยโปรแกรมสามมิติโดยการซ้อนทับเอสทีแอลไฟล์ระหว่างด้านเนื้อเยื่อของฟันเทียมและแบบจําลองอ้างอิง โดยแบ่งบริเวณออกเป็น 3 บริเวณ 1. บริเวณทั่วทั้งฐานฟันปลอม 105 จุด 2. บริเวณขอบโดยรอบและส่วนกั้นท้ายเพดาน 72 จุด และ 3. บริเวณส่วนรองรับปฐมภูมิ140 จุด วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยสถิติทดสอบที ผลการทดลอง: ในบริเวณทั่วทั้งฐานฟันเทียมการผลิตด้วยวิธีการกลึงให้ค่าความถูกต้อง 0.0964 ซึ่งดีกว่าวิธีการพิมพ์สามมิติให้ค่าความถูกต้อง 0.1219 ที่ระดับนัยสําคัญที่ p<0.001 ในบริเวณขอบโดยรอบและส่วนกั้นท้ายเพดานปากค่าความถูกต้องวิธีการพิมพ์สามมิติได้ค่าความถูกต้อง 0.1635 ซึ่งดีกว่าวิธีการกลึง 0.839 ที่ระดับนัยสําคัญที่ p=0.009 และบริเวณรองรับปฐมภูมิค่าความถูกต้องด้วยวิธีการกลึง 0.0207 ดีกว่าการผลิตด้วยวิธีพิมพ์สามมิติ0.0498 ที่ระดับนัยสําคัญที่ p<0.001 สรุปผลการทดลอง: การสร้างฐานฟันเทียมทั้งปากบนวิธีการกลึงมีค่าความถูกต้องที่ดีกว่าการพิมพ์สามมิติในบริเวณทั่วทั้งฐานฟันเทียมและบริเวณรองรับปฐมภูมิ ในขณะที่บริเวณขอบโดยรอบและส่วนกั้นท้ายเพดานปากการพิมพ์สามมิติให้ความถูกต้องที่ดีกว่า | en_US |
Appears in Collections: | 665 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6210820003.pdf | 6.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License