Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19125
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุมาพร มุณีแนม-
dc.contributor.authorปาริฉัตร สิงห์ศักดิ์ตระกูล-
dc.date.accessioned2023-12-04T07:11:54Z-
dc.date.available2023-12-04T07:11:54Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19125-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2563en_US
dc.description.abstractThis was a study of guidelines to cycling tourism development in Songkhla Special Economic Zone, which its objectives were; to study about situation of the clycling tourism, component attraction factors affecting need of bicycle tourists, and to create guidelines for cycling tourism development in Songkhla Special Economic Zone. It was a qualitative and quantitative research, the data was collected by observation and questionnaire to 384 bicycle tourists, conducting groups discussion three times with 23 people, interviewing 37 people from different sectors, including 5 people from local government organizations, 4 people from relevant government agencies, 16 people from tour operators, 4 people from a bicycle association and 8 local people in the relevant area. The data was analyzed by quantitative and qualitative methodology. The result of the study revealed the factors affecting the development of bicycle tourism in the Songkhla Special Economic Zone including: the driving of relevant government agencies and local bicycle groups or clubs, the development of the Songkhla Special Economic Zone and the tourism elements those affect the needs of bicycle tourists include the attraction of bicycle tourists. They were ; the accessing to tourist attractions by bicycle tourists, the service and safety of the accommodation and facilities for bicycle tourists, that can lead to a development approach which is consistent with the opinions of various sectors. Including the development suggestions for bicycle tourism in the Songkhla Special Economic Zone, to be an important destination for bicycle tourists and to be able to create sustainability for the area as follows: The proposed suggestions for bicycle tourism development in Songkhla Special Economic Zone include 1) the development of Dan Nok, Sadao and Padang Besar to become a bicycle tourist destination. 2) the creating of the involved sectors and people participation in the area to manage the bicycle tourism; 3) the creating of the area identity by presenting the characteristics of border areas, the physical condition and the cultural arts 4) the increasing of learning resources in the area to organize activities for tourists that could create experiences in nature and culture 5) the providing of safety for tourists bicycle both in life and assets. The proposed strategies for the development of bicycle tourism's marketing in the Songkhla Special Economic Zone to increase the number of bicycle tourists to visit the area for both existing and new groups of tourists were 1) the increasing of organized activities for bicycle tourists 2) the building of collaboration both from inside and outside and 3) the developing of resources and service for bicycle tourists.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการท่องเที่ยวทางจักรยานen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนการท่องเที่ยวโดยจักรยาน ในเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลาen_US
dc.title.alternativeGuideline to Cycling Tourism Development in Songkhla Special Economic Zoneen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Environmental Management (Environmental Management)-
dc.contributor.departmentคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม-
dc.description.abstract-thการศึกษาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยจักรยานในเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การท่องเที่ยวโดยจักรยาน ปัจจัยองค์ประกอบการท่องเที่ยวที่ ส่งผลต่อความต้องการของนักท่องเที่ยวโดยจักรยาน และเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว โดยจักรยาน ในเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ซึ่งเก็บรวบรวม ข้อมูลโดยการสังเกต การสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวจักรยาน (384 คน) การสัมภาษณ์ (37 คน) จากกลุ่มตัวอย่างภาคส่วนต่างๆ ได้แก่ องค์กรปกครองท้องถิ่น (5 คน) หน่วยงานภาครัฐที่ เกี่ยวข้อง (4 คน) ผู้ประกอบการท่องเที่ยว (16 คน) ชมรมจักรยาน (4 คน) และชาวบ้านในพื้นที่ที่ เกี่ยวข้อง (8 คน) และการสนทนากลุ่ม (23 คน) และทําการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลการศึกษา พบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยจักรยานในเขตเศรษฐกิจ พิเศษสงขลา ประกอบด้วย การกําหนดนโยบายหรือแผนงานของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องและการ ขับเคลื่อนกลุ่มหรือชมรมจักรยานในพื้นที่ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลาและองค์ประกอบการ ท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อความต้องการของนักท่องเที่ยวจักรยาน ได้แก่ ด้านสิ่งดึงดูดใจนักท่องเที่ยว จักรยาน ด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวด้วยจักรยาน ด้านการบริการและความปลอดภัย ด้านที่พัก สําหรับนักท่องเที่ยวจักรยาน และด้านสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับนักท่องเที่ยวจักรยาน ที่สามารถ นําไปสู่การกําหนดแนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับความคิดเห็นของภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องใน พื้นที่ รวมถึงการกําหนดข้อเสนอและกลยุทธ์ในการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยจักรยานในเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลา เพื่อให้เป็นจุดหมายปลายทางที่สําคัญสําหรับนักท่องเที่ยวจักรยานและสามารถสร้างความยั่งยืนให้แก่พื้นที่ ดังนี้ ข้อเสนอการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยจักรยานในเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลา ได้แก่ 1) การพัฒนาเมืองด่านนอก เมืองสะเดาและเมืองปาดังเบซาร์ให้กลายเป็นจุดหมายปลายทางของ นักท่องเที่ยวจักรยาน 2) การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนและประชาชนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ในการบริหารจัดการท่องเที่ยวโดยจักรยาน 3) สร้างความเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ โดยนําเสนอ ลักษณะเฉพาะของพื้นที่ชายแดน ทางด้านกายภาพและศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น 4) เพิ่มแหล่ง เรียนรู้ในพื้นที่ เพื่อจัดกิจกรรมสําหรับนักท่องเที่ยวที่สร้างประสบการณ์ทางด้านธรรมชาติและ วัฒนธรรม 5) สร้างความปลอดภัยให้แก่นักท่องเที่ยวจักรยาน ทางด้านชีวิตและทรัพย์สิน กลยุทธ์ในการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยวโดยจักรยานในเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลา เพื่อเพิ่ม จํานวนนักท่องเที่ยวจักรยานให้เข้ามาท่องเที่ยวในพื้นที่ ทั้งนักท่องเที่ยวกลุ่มเดิมและกลุ่มใหม่ ได้แก่ 1) เพิ่มการจัดกิจกรรมสําหรับนักท่องเที่ยวจักรยาน 2) สร้างความร่วมมือจากภายในและภายนอก และ 3) การพัฒนาทรัพยากรและการให้บริการสําหรับนักท่องเที่ยวจักรยานen_US
Appears in Collections:820 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
446728.pdf7.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons