Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19072
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์-
dc.contributor.authorละอองดาว พวงแก้ว-
dc.date.accessioned2023-11-17T03:02:18Z-
dc.date.available2023-11-17T03:02:18Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19072-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (พืชศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562en_US
dc.description.abstractEvaluatin of postharvest lost and prolonging storage life of chili (Capsicum frutescens L.) grown in Nakhon Sri Tammarat, Phattalung and Songkhla Provinces were investigated during May 2016 - August 2017. The results showed that two main groups of cultivated chili can be divided, i.e. (1) fresh chili that harvested at mature green stage including cv. Duangmanee grown in Nakhon Sri Thammarat and Songkhla and cv. Yodson grown in Phattalung and (2) processed chili for chili paste that harvested at coloring stage including var. Short-Pod She grown in Nakhon Sri Thammarat) and Long-Pod She grown in Songkhla and Phattalung. Based on characteristic of postharvest losses, fresh chilies were sorted to eight groups, i.e. normal, small size, without or broken peduncle, wounded or damage fruit, young fruit, infected fruit,, abnormal fruit shape and coloring or ripe fruit. While processed chilies for chili paste were sorted to four groups, i.e. normal, small size, without or broken peduncle and infected fruit. This can be concluded that postharvest losses and life of chili depends on growing area, specie and variety, cultural practices and harvesting time. Further study of prolonging the storage life of chili cv. Duangmanee grown in Sonkhla and cv. Yodson grown in Phattalung at room and low temperature. Postharvest treatment for storage were temperature reduction, washing with aloe vera solution, using packaging foam tray with linear low-density polyethylene (LLDPE) film, using 1-methylcyclopropene (1-MCP), using different materials of modified atmosphere packaging or MAP (LDPE, PP, HDPE bagging). It was found the most effective postharvest treatments for storage of both chili cv. Duangmanee and Yodson at room temperature were using packaging foam tray with LLDPE film, fumigation 150 ppb 1-MCP + packaging foam tray with LLDPE film and fumigation 150 ppb 1-MCP + HDPE bagging as such for 4 days comparing with control for 2 days. At low temperature (10 °C), it was found that all packaging treatments effectively prolonged the storage life of chili cv. Duangmanee for 21 days comparing with control for 7 days. The most effective treatments for 21 days of storage chili cv. Yodson at low temperature were MAP packaging and fumigation 150 ppb 1-MCP + MAP (LDPE, PP, HDPE bagging). In addition, the storage life of chili cv. Yodson using packaging foam tray with LLDPE film with and without fumigation 150 ppb 1-MCP were 14 days when comparing with control (6 days).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectพริก การเก็บและรักษาen_US
dc.titleการประเมินการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยวและการยืดอายุการเก็บรักษาพริกen_US
dc.title.alternativePostharvest loss evaluation and prolonging storage life of chili (Capsicum frutescens L.)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Natural Resources (Plant Science)-
dc.contributor.departmentคณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์-
dc.description.abstract-thการศึกษาการประเมินการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยวและการยืดอายุการเก็บรักษา ของพริกขี้หนูพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา ในระหว่างเดือนพฤษภาคม 2559 - สิงหาคม 2560 ผลการศึกษาพบว่า การจําแนกพริกตามลักษณะการนําไปใช้ได้ 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 พริกสําหรับริโภคสด เก็บเกี่ยวในระยะผลแก่สีเขียว ได้แก่ พริกขี้หนูพันธุ์ดวงมณี ปลูกในพื้นที่จังหวัด นครศรีธรรมราชและสงขลา และพริกขี้หนูพันธุ์ยอดสน ปลูกในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช และ กลุ่มที่ 2 พริกสําหรับแปรรูปเป็นพริกเครื่องแกง เก็บเกี่ยวตั้งแต่ผลเริ่มเปลี่ยนสีขึ้นไป ได้แก่ พริกชีผลสั้น ปลูกในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช และพริกชีผลยาว ปลูกในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลา จาก ลักษณะการสูญเสียหลังเก็บเกี่ยวพบว่า พริกขี้หนูพันธุ์ดวงมณีและพันธุ์ยอดสน แบ่งได้เป็น 8 กลุ่ม ได้แก่ พริกดี พริกดีขนาดเล็ก พริกขั้วหลุดหรือก้านหักสั้น พริกเป็นแผลหรือผลหัก พริกอ่อน พริกเป็น โรค พริกไม่สมบูรณ์ และพริกระยะเปลี่ยนสีหรือพริกสุก ในขณะที่พริกขีผลสั้นและพริกขีผลยาว แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ พริกดี พริกดีขนาดเล็ก พริกขั้วหลุดหรือก้านหักสั้น และพริกเป็นโรค จึงสรุปได้ว่า เปอร์เซ็นต์การสูญเสียและอายุของพริกหลังการเก็บเกี่ยวขึ้นอยู่กับพื้นที่ปลูก ชนิดและ พันธุ์พริก การปฏิบัติรักษา และรอบการเก็บเกี่ยว การศึกษาวิธีการยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยวของพริก ขี้หนูพันธุ์ดวงมณี (สงขลา) และพันธุ์ยอดสน (พัทลุง) ที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องและอุณหภูมิต่ํา โดย กรรมวิธีที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ การลดอุณหภูมิ การล้างด้วยสารละลายว่านหางจระเข้ การใช้บรรจุภัณฑ์ ถาดโฟมหุ้มฟิล์มพลาสติก LLDPE การใช้สารเมทิลไซโคลโพรฟิน (1-MCP) และการใช้บรรจุภัณฑ์ ดัดแปลงบรรยากาศชนิดต่าง ๆ ผลการศึกษาพบว่า การเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง วิธีการที่เหมาะสมที่สุด ในการเก็บรักษาพริกขี้หนูพันธุ์ดวงมณีและพันธุ์ยอดสน คือ ทรีทเมนต์ บรรจุภัณฑ์ถาดโฟมหุ้มฟิล์มพลาสติก LLDPE, รมสาร 1-MCP ความเข้มข้น 150 ppb ร่วมกับบรรจุภัณฑ์ถาดโฟมหุ้มฟิล์ม พลาสติก LLDPE และรมสาร 1-MCP คววามเข้มข้น 150 ppb ร่วมกับบรรจุภัณฑ์ถุงพลาสติก HDPE โดยเก็บรักษาได้นานกว่าชุดควบคุม 2 วัน สําหรับการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ําที่ 10 องศาเซลเซียส พบว่า ในพริกขี้หนูพันธุ์ดวงมณีทุกทรีทเมนต์สามารถยืดอายุการเก็บรักษาได้นาน 21 วัน เมื่อเปรียบเทียบ กับชุดควบคุมที่เก็บรักษาได้เพียง 7 วัน สําหรับพริกขี้หนูพันธุ์ยอดสน ทรีทเมนต์ที่สามารถยืดอายุการเก็บรักษาได้นานที่สุด (21 วัน) คือ บรรจุภัณฑ์ถุงพลาสติก LDPE, PE, HDPE, รมสาร 1-MCP ความเข้มข้น 150 ppb ร่วมกับบรรจุภัณฑ์ถุงพลาสติก (LDPE, PP และ HDPE) ขณะที่ทรีทเมนต์บรรจุภัณฑ์หุ้มฟิล์ม พลาสติก LLDPE และร่วมกับรมสาร 1-MCP สามารถเก็บรักษาพริกขี้หนูพันธุ์ยอดสนได้นาน 14 วัน เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุมที่เก็บรักษาได้นานเพียง 6 วันen_US
Appears in Collections:510 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
435134.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons