Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19061
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฐิติกา กิจพิพิธ | - |
dc.contributor.author | สุนิษา แดงศรีวัลย์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-11-16T08:35:48Z | - |
dc.date.available | 2023-11-16T08:35:48Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19061 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (นิติวิทยาศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | STR profiling from improvised explosive device (IED) evidence results in low success rates due to trace amount of DNA available and DNA degradation. Moreover, 30-70 percent of DNA is lost during extraction process. To overcome these problems, direct PCR, which omits the DNA extraction process, can be used to increase the efficiency and success rates of STR typing from trace biological evidences. In this study, we developed a direct PCR protocol combined with optimal collection methods for touch DNA analysis from IED evidence. The result showed that direct amplification protocol successfully amplified touch DNA on all IED substrates. However, the optimal touch DNA collection method depended on substrate types. Cotton swab with phosphate buffer saline (PBS) was most suitable for non-absorbent substrates and electrical tape (3M tape), while tapelifting was most suitable for absorbent substrates. Identifiler® Plus kit had higher efficiency compared to IDplex® Plus kit in amplifying touch DNA by direct protocol. Furthermore, the developed process provided higher STR profiling success rates, which was 1.6 times higher for donor alleles compared to the conventional process. The developed method could be beneficial for the Central Institute of Forensic Science, Police Forensic Science Centers, and forensic-related institutes worldwide. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ | en_US |
dc.subject | การพิสูจน์ดีเอ็นเอ | en_US |
dc.title | การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสบนหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องด้วยเทคนิคไดเร็คพีซีอาร์ | en_US |
dc.title.alternative | Amplification of Touch DNA on Improvised Explosive Device Using Direct PCR | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Science (Applied Science) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ | - |
dc.description.abstract-th | การตรวจวิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคลจากหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องมีอัตราความสําเร็จต่ํา เนื่องจากตัวอย่างดังกล่าวมีดีเอ็นเอปริมาณน้อย เหลืออยู่และเสื่อมสภาพจากความร้อนภายหลังการระเบิด รวมถึงขั้นตอนการสกัดดีเอ็นเอทําให้ สูญเสียดีเอ็นเอเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 30-70 ปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้เทคนิคไดเร็คพีซีอาร์ซึ่งเป็น การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอจากตัวอย่างโดยตรง โดยไม่ผ่านการสกัดดีเอ็นเอ ซึ่งทําให้เกิดพบว่าช่วยเพิ่มความสําเร็จในการตรวจพิสูจน์ดีเอ็นเอจากวัตถุพยานชีวภาพหลายประเภท ประสิทธิภาพและได้รับผลลายพิมพ์ดีเอ็นเอที่สมบูรณ์ งานวิจัยนี้จึงต้องการเพิ่มอัตรา ความสําเร็จในการตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอที่มีคุณภาพดีจากหลักฐานระเบิดแสวงเครื่อง โดย ศึกษาวิธีการเก็บกู้เซลล์และดีเอ็นเออิสระที่มีประสิทธิภาพสําหรับวัสดุดังกล่าว ร่วมกับการ พัฒนากระบวนการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอด้วยเทคนิคไดเร็คพีซีอาร์ ผลการศึกษาพบว่าสามารถพัฒนากระบวนการตรวจพิสูจน์ดีเอ็นเอด้วยเทคนิคไดเร็คพีซีอาร์จากหลักฐานระเบิดแสวงเครื่อง ได้สําเร็จ โดยใช้โพรโทคอลการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอจากวัสดุโดยตรง อีกทั้งพบว่าวิธีการเก็บกู้ เซลล์และดีเอ็นเออิสระที่มีประสิทธิภาพที่สุดนั้นขึ้นกับประเภทของวัสดุหลักฐาน โดยวัสดุ หลักฐานระเบิดแสวงเครื่องที่ไม่ดูดซับและเทปกาวพันสายไฟนั้นควรเก็บกู้เซลล์และดีเอ็นเออิสระด้วยไม้พันสําลีชนิดคอตตอนร่วมกับสารละลาย phosphate buffer saline (PBS) ในขณะที่ การเก็บกู้เซลล์และดีเอ็นเออิสระบนวัสดุดูดซับควรใช้วิธีเทปยึด รวมทั้งพบว่าชุดน้ํายา Identifiler Plus มีประสิทธิภาพสูงสุดในการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอจากเซลล์และดีเอ็นเออิสระด้วย เทคนิคไดเร็คพีซีอาร์ที่พัฒนาขึ้น นอกจากนี้กระบวนการตรวจพิสูจน์ที่พัฒนาขึ้นในงานวิจัยนี้มีความสําเร็จในการตรวจวิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอจากหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องจําลองสูงกว่า วิธีมาตรฐานของศูนย์พิสูจน์หลักฐานตํารวจอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดย จํานวนอัลลีลของอาสาสมัครมากกว่าถึง 1.6 เท่า ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อ หน่วยงานนิติพันธุศาสตร์ทั้งสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรมและศูนย์พิสูจน์หลักฐานทั่วประเทศ | en_US |
Appears in Collections: | 340 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
432948.pdf | 5.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License