Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19055
Title: ความสัมพันธ์ของความดันโลหิต ความแข็งตัวของหลอดเลือดแดงความแปรปรวนของอัตราการเต้นของหัวใจ และมาลอนไดอัลดีไฮด์ในคนไทยสูงอายุ
Other Titles: Correlations between Blood Pressure, Arterial Stiffness, Heart Rate Variability and Malondialdehyde in Thai Elderly
Authors: ฐาปนี เริงฤทธิ์
รุชดา ศรีอาหมัด
Faculty of Science (Physiology)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาสรีรวิทยา
Keywords: หลอดเลือดแดง ความดันโลหิต;ผู้สูงอายุ;Malondialdehyde;หัวใจ วัยชรา
Issue Date: 2018
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: Blood pressure assessment is an integral part of standardizing clinical practice, assessing for routine health checkups. The association of blood pressure and arterial stiffness, the autonomic nervous system activity and oxidative stress in the elderly are still unclear. This study aimed to assess the relationship between blood pressure with cardio-ankle vascular index (CAVI), heart rate variability (HRV) and malondialdehyde. A total of 103 subjects male and female; aged 60-80 years (mean age 66.06 ± 4.56 years). Systolic blood pressure and diastolic blood pressure showed a positive correlation with cardio-ankle vascular index (P < 0.05). We found a negative correlation with time domain (SDNN RMSSD and PNN50) and frequency domain parameters (LF and HF) (P< 0.05). In addition, this study showed systolic blood pressure positive correlation with plasma MDA (P < 0.05). These findings suggest that blood pressure can provide an enhanced diagnosis index, and possibly prognostic information regarding arterial stiffness, heart rate variability and malondialdehyde that help reduce cardiovascular disease mortality.
Abstract(Thai): การตรวจวัดความดันโลหิตเป็นวิธีการมาตรฐานทางคลินิกที่สําคัญ ที่ใช้ในการประเมินภาวะสุขภาพ โดยความสัมพันธ์ของความดันโลหิตกับความแข็งตัวของหลอดเลือด แดง การทํางานของระบบประสาทอัตโนมัติ และภาวะเครียดออกซิเดชันยังไม่ชัดเจน การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างความดันโลหิตกับดัชนีชี้วัดความแข็งตัวของหลอดเลือดแดงหัวใจ-ข้อเท้า ความแปรปรวนของอัตราการเต้นของหัวใจและมาลอนไดอัลดีไฮด์ ในอาสาสมัครผู้สูงอายุจํานวน 103 คน ทั้งเพศชาย และเพศหญิง อายุ 60-80 ปี (อายุเฉลี่ย 66.06 + 4.56 ปี) พบว่า ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว และคลายตัว มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับดัชนีชี้วัดความแข็งตัวของหลอดเลือดแดงหัวใจ-ข้อเท้า (P < 0.05) พบความสัมพันธ์เชิงลบกับโดเมนเวลา (SDNN RMSSD และ PNN50) และโดเมนความถี่ (HF และ LF) (P < 0.05) นอกจากนี้ การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าความดันโลหิตขณะหัวใจ บีบตัวมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับมาลอนไดอัลดีไฮด์ (P < 0.05) ผลการศึกษาทั้งหมดแสดงให้ เห็นว่า ความดันโลหิตเป็นดัชนีที่สามารถใช้ทํานายความแข็งตัวของหลอดเลือดแดง ความแปรปรวนของอัตราการเต้นของหัวใจ และมาลอนไดอัลดีไฮด์ เพื่อช่วยลดอัตราการ เสียชีวิตด้วยโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สรีรวิทยา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19055
Appears in Collections:338 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
432083.pdf3.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons