Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19040
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNattawut Thuaksuban-
dc.contributor.authorMonsikan Phopetch-
dc.date.accessioned2023-11-13T08:27:16Z-
dc.date.available2023-11-13T08:27:16Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19040-
dc.descriptionThesis (M.Sc., Oral and Maxillofacial Surgery)--Prince of Songkla University, 2018en_US
dc.description.abstractObjective To compare the characteristics of ASCs isolated from intra-oral buccal fat pads using CD 271 Magnetic-Activated Cell Sorting (MACS) and plastic adherence (PA). Materials and Methods The buccal fat tissue was harvested from ten patients whom undergone orthognathic surgeries. ASCs were isolated from the tissue using PA (Group A) and MACS; CD 271+ (Group B) and CD271- (Group C), (n=5/group). Colony forming unit fibroblasts (CFU-f) of the cells in each group were evaluated within 20 days of culture. The immune-phenotyping markers following the International Society for Cellular Therapy (ISCT) protocols including CD90, CD73 and CD105 as the positive markers and CD14, CD20, CD34, CD45 as the negative markers were analyzed by flow cytometry analysis. Gingival fibroblast was served as a negative control group. For multi- differentiation analysis, the cells of each group were cultured in the inductive medium. The adipogenic differentiation was assessed by Oil Red O staining. The chondrogenic differentiation was assessed by alcian blue staing. The osteogenic differentiation were assessed by ELISA to measure the level of alkaline phosphatase activity (ALP) and Osteocalcin (OCN). Results CFU-f formed in the Group B cells, but were not detected in the other groups. The cells of groups A-C could express the immunophenotyping markers of mesenchymal stem cells including CD 73, 90 and 105. No statistical difference was detected among the groups. It was noted that CD 73 was detected at the highest levels followed by CD 105 and CD 90 respectively. The cells of the control group expressed those markers remarkably less than the experiment groups (significant differences were found in CD 73 and CD 105, p < 0.05). In addition, the cells of all groups expressed hematopoietic stem cell markers including CD 14, 20, 34 and 45 at very low levels. The cells of groups A-C demonstrated adipogenic, chondrogenic and osteogenic differentiation when cultured in the inductive conditions. There was no significant difference of those properties among the groups. Conclusion CD 271 is considered as a proper marker for sorting ASCs from buccal fat tissue. However, it cannot be use as the sole marker. Although the ASCs expressed CD 90 at the lowest levels, they still had osteogenic differentiation capacity. Therefore, they can be used as a stem cell source to repair bone defects.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectAdipose tissuesen_US
dc.subjectCell separationen_US
dc.titleCharacteristics of adipose-derived stem cells isolated from buccal fat pads using CD 271 cell sorting techniqueen_US
dc.title.alternativeคุณสมบัติของเซลล์ต้นกำเนิดมีเซนไคม์ จากเนื้อเยื่อไขมันบริเวณแก้มที่ผ่านกระบวนการคัดแยกเซลล์ด้วยโปรตีนผิวเซลล์ CD 271en_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Dentistry (Surgery)-
dc.contributor.departmentคณะทันตแพทยศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์-
dc.description.abstract-thวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติของเซลล์ต้นกําเนิดจากเนื้อเยื่อไขมัน บริเวณแก้ม ที่ผ่านกระบวนการคัดแยกเซลล์ที่มีโปรตีนผิวเซลล์ซีดี 271 ด้วยลูกปัดแม่เหล็ก (CD 271 Magnetic-Activated Cell Sorting, MACS) และวิธีดั้งเดิมคือพลาสติกยึดเกาะ (Plastic adherence) วิธีการวิจัย ทําการเก็บเนื้อเยื่อไขมันบริเวณแก้มจากผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด กระดูกใบหน้าและขากรรไกรจํานวน 10 คน เพื่อคัดแยกเซลล์ต้นกําเนิด โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่มทดลอง ได้แก่ กลุ่ม A ใช้กระบวนการคัดแยกเซลล์ต้นกําเนิดวิธีดั้งเดิม กลุ่ม B และ C ใช้กระบวนการคัด แยกเซลล์ด้วยลูกปัดแม่เหล็ก โดยกลุ่ม B คือเซลล์ต้นกําเนิดที่มีโปรตีนผิวเซลล์ซีดี 271 ส่วนกลุ่ม C คือเซลล์ต้นกําเนิดที่ไม่มีโปรตีนผิวเซลล์ซีดี 271 จากนั้นประเมินคุณสมบัติของเซลล์ต้นกําเนิดแต่ละ กลุ่ม โดยเปรียบเทียบความสามารถในการสร้างโคโลนี (Colony forming unit fibroblast : CFU-f) เปรียบเทียบการแสดงออกของโปรตีนผิวเซลล์ที่จําเพาะต่อเซลล์ต้นกําเนิดมีเซนไคม์ (Mesenchymal stem cells) ได้แก่ ซีดี90 (CD90), ซีดี73 (CD73) และซีดี105 (CD105) รวมถึง โปรตีนผิวเซลล์ที่จําเพาะต่อเซลล์ต้นกําเนิดเม็ดเลือด (Hematopoietic stem cells) ได้แก่ ซีดี 14 (CD14), ซีดี20 (CD20), ซีดี34 (CD34), และ ซีดี45 (CD45) โดยการวิเคราะห์ด้วยเครื่องโฟไซโต มิเตอร์ (Flow cytometry analysis) และใช้เซลล์สร้างเส้นใย (Fibroblast) เป็นกลุ่มควบคุม นอกจากนี้ยังเปรียบเทียบความสามารถของเซลล์ดังกล่าวในการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์จําเพาะ ชนิดต่างๆ (Multi differentiation) ได้แก่ เซลล์ไขมัน เซลล์กระดูกอ่อน และเซลล์สร้างกระดูก ผลการศึกษา เซลล์ต้นกําเนิดในกลุ่ม B มีความสามารถในการสร้างโคโลนีเมื่อ เพาะเลี้ยงเซลล์เป็นเวลา 20 วัน ซึ่งไม่พบลักษณะดังกล่าวในเซลล์กลุ่ม A และ C เซลล์ทั้ง 3 กลุ่ม มี การแสดงออกของโปรตีนผิวเซลล์ที่จําเพาะต่อเซลล์ต้นกําเนิดมีเซนไคม์ได้ และมีการแสดงออกของ โปรตีนผิวเซลล์ที่จําเพาะต่อเซลล์ต้นกําเนิดเม็ดเลือดในระดับต่ํา โดยไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติระหว่างกลุ่มทดลอง ในขณะที่เซลล์ในกลุ่มควบคุมมีการแสดงออกของโปรตีนผิวเซลล์ที่จําเพาะต่อเซลล์ต้นกําเนิดมีเซนไคม์อยู่ในระดับต่ํากว่ากลุ่มทดลองอย่างชัดเจน โดยมี ความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติในการแสดงออกของซีดี73 และซีดี 105 นอกจากนี้เซลล์ในกลุ่มทดลองยังมีสามารถในการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์จําเพาะทั้งสามชนิดได้ไม่แตกต่างกัน สรุปผลการศึกษา ซีดี 271 เป็นโปรตีนผิวเซลล์ที่เหมาะสมในการใช้คัดแยกเซลล์ ต้นกําเนิดมีเซนไคม์ด้วยลูกปัดแม่เหล็กจากเนื้อเยื่อไขมันบริเวณแก้ม แม้ว่าการใช้โปรตีนผิวเซลล์ เพียงชนิดเดียวอาจไม่เพียงพอสําหรับการคัดแยกเซลล์ต้นกําเนิดให้มีความบริสุทธิ์ อย่างไรก็ตาม เซลล์ต้นกําเนิดที่คัดแยกด้วยวิธีดังกล่าวก็มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์สร้าง กระดูกได้ในห้องปฏิบัติการ ดังนั้นจึงสามารถนําเซลล์ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้เพื่อการรักษาการ สูญเสียกระดูกในผู้ป่วยได้en_US
Appears in Collections:680 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
435110.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons