Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19031
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWichitra Leelasuphakul-
dc.contributor.authorPaiboon Tunsagool-
dc.date.accessioned2023-11-13T06:35:08Z-
dc.date.available2023-11-13T06:35:08Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19031-
dc.descriptionThesis (Ph.D., Biochemistry)--Prince of Songkla University, 2018en_US
dc.description.abstractCyclic lipopeptides (CLPS) obtained from Bacillus subtilis ABS-S14 had ability to activate some important genes, proteins, and metabolites which are involved in plant defensive pathways to stress responses and infection caused by Penicillium digitatum in mandarin fruit. The effects of CLP extract, fengycin, iturin A and surfactin in enhancement of the expression of PAL, LOX, ACS1, ACO, CHI, GLU, POD and PR1 genes in postharvest mandarin fruit were revealed. Also the proteins relating to Ca2+ pathway, ABA signaling pathway, reactive oxygen species pathway, and ubiquitin- proteasome system including energy production for plant resistance were significantly accumulated. During stress responses (non-fungal infection), fengycin activated plant production of a protein that is involved in plant development and the ubiquinone biosynthetic process while iturin A and surfactin were shown to be involved in auxin and abscisic acid modulating signaling pathways. In addition, a comparative elicitor-protein binding assay of each CLP illustrated that iturin A attached to 12-oxophytodienoate reductase 2 that plays role in oxylipin biosynthetic process required for jasmonic acid production led to inducing systemic resistance (ISR). Furthermore, metabolomic analysis revealed that CLPs elicited a high accumulation of some amino acids; aspartic acid, homoserine, threonine, serine, glycine and tryptophan, which are primary metabolites via the metabolism of glycine, serine and threonine, and the secondary metabolites; serotonin and tyramine, which are active in the metabolism of tryptophan and tyrosine, respectively in postharvest mandarin fruit.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectBacillus subtilis Geneticsen_US
dc.subjectCitrus fruits Diseases and pestsen_US
dc.titleExpression of Genes Involving Disease Resistance in Citrus Fruit Induced by Bacillus subtillis Lipopeptides Elicitors and Fungal Pathogenen_US
dc.title.alternativeการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการต้านทานโรคในผลส้มเหนี่ยวนำโดยสารไลโปเปปไทด์จากเชื้อแบซิลลัส ซับทิลลิส อิลิซิเตอร์และเชื้อราก่อโรคen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Biochemistry)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีวเคมี-
dc.description.abstract-thสารไลโปเปปไทด์จากเชื้อแบคทีเรียแบซิลัส ซับทิลลิสมีประสิทธิภาพในการกระตุ้นการแสดงออกของยีน โปรตีน และสารเมแทบอไลท์ที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิต้านทานโรคพืช เพื่อตอบสนองต่อสภาวะเครียดและการติดเชื้อราเขียวในผลส้มโชกุน โดยสารสกัดไลโปเปปไทด์ รวมถึง fengycin iturin A และ Surface สามารถกระตุ้นการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการ ต้านทานโรคพืชได้ เช่น ยีน PAL LOX ACS1 ACO CHI GLU POD และ PR1 เป็นต้น ทั้งนี้สาร สกัดไลโปเปปไทด์ยังสามารถเพิ่มปริมาณของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับวิถีแคลเซียม กรดแอบไซซิกอนุพันธ์ออกซิเจนที่ว่องไว ระบบยูบิควิโน-โปรติเอโซม รวมไปถึงผลผลิตของสารที่ให้พลังงานเพื่อ การต้านทานโรคพืช อีกทั้ง fengycin ยังเพิ่มปริมาณของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาของพืช และการสังเคราะห์ยูบิควิโนนในกลุ่มที่ไม่มีการติดเชื้อราเขียว ในขณะที่โปรตีนที่เกี่ยวข้องกับ ฮอร์โมนพืช เช่น ออกซินและกรดแอบไซซิกนั้นถูกเพิ่มปริมาณโดยการกระตุ้นจาก iturin A และ surfactin การทดสอบการจับระหว่างสารไลโปเปปไทด์กับโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการต้านทานโรค พืชสะท้อนให้เห็นว่า iturin A สามารถจับกับโปรตีน 12-oxophytodienoate reductase 2 ซึ่ง เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ oxylipin ที่นําไปสู่การกระตุ้นระบบการต้านทานโรคพืช induced systemic resistance (ISR) การวิเคราะห์ทางด้านเมแทโบโลมิกส์โดยวิธี dansylation isotope labeling LC-MS ชี้ชัดว่า สารกลุ่มไลโปเปปไทด์สามารถกระตุ้นการเพิ่มปริมาณของกรดอะมิโนบางชนิดได้ เช่นกรดแอสพาร์ติก โฮโมเซอรีน ทรีโอนีน เซอรีน ไกลซีน และ ทริปโตเฟน ซึ่งถือเป็นเมแทโบไลท์ชนิดปฐมภูมิ รวมทั้ง เซโรโทนิน และทริปตามีน ซึ่งถือเป็นสารเมแทโบไลท์ ชนิดทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบิลิซึมของทริปโตเฟนและไทโรซีน ตามลําดับ ในผล ส้มโชกุนหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อตอบสนองต่อสภาะเครียดen_US
Appears in Collections:328 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
432953.pdf6.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons