Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19002
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAphirom Promchanya-
dc.contributor.authorChorpaka Buakaew-
dc.date.accessioned2023-11-01T07:17:55Z-
dc.date.available2023-11-01T07:17:55Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19002-
dc.descriptionThesis (M.B.A., Hospitality and Tourism Management (International Program))--Prince of Songkla University, 2018en_US
dc.description.abstractCommunity-based Tourism (CBT) adopted in Koh Lone community is an indicator for tourism management based in natural and cultural resource. This research analyses the current community based tourism management, conservation and eco-tourism practices in Koh Lone as player in raising community livelihoods and the challenges encountered. The one objective of this research is "To study the key success factors in community-based tourism adopted in Koh Lone, Phuket". This research has seek to answer in three research question were 1) What are the key success factors of Koh Lone community-based tourism. 2) How do the tourists perceive Koh Lone as tourist attraction destination. 3) How does the Government support and encourage community-based tourism adopted in Koh Lone, Phuket. Thus, perceive of key success factors of the survey in this study are measuring the key success of Community-based ecotourism (CBET) industry, moreover the key success observe will be support the favorable strategies motivation and influence organization successful. Qualitative data are data were used to analyze the research, throughout this research study there are types of stakeholder groups of Community-basedecotourism. The finding indicated that Community Based Tourism (CBT) in Koh Lone has development from the demands of government. This project designed a model of tourism for conservation, community development, and cross-cultural sharing. CBT activities have been planned and managed by local Muslim fishers, sharing local life, celebrating local cultural, develop in local skills and building environmental awareness among guests and hosts.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectAgritourism Thailand Phuket (Province)en_US
dc.subjectEcotourism Thailand Phuket (Province)en_US
dc.subjectCommunity development Thailand Phuket (Province)en_US
dc.titleKey Success Factors in Community - based Tourism A Case Study of Koh Lone, Phuketen_US
dc.title.alternativeปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญในการท่องเที่ยวชุมชน กรณีศึกษาบ้านเกาะโหลนภูเก็ตen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Hospitality and Tourism (Hospitality and Tourism Management)-
dc.contributor.departmentคณะการบริการและการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยว-
dc.description.abstract-thการท่องเที่ยวชุมชน (CBT) ในชุมชนเกาะโหลนเป็นตัวชี้วัดการจัดการท่องเที่ยว บนพื้นฐานการของทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์การ จัดการการท่องเที่ยวชุมชนเชิงอนุรักษ์ของชุมชนในเกาะโหลนซึ่งเป็นเครื่องมือในการสร้างวิถีชีวิต ของชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยความสําเร็จที่สําคัญ ในการท่องเที่ยวชุมชน กรณีศึกษาบ้านเกาะโหลน ภูเก็ต โดยการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบ คําถามในการวิจัย ข้อ 3 คือ 1) อะไรคือปัจจัยที่สําคัญต่อความสําเร็จของการท่องเที่ยวชุมชนเกาะ โหลน 2) นักท่องเที่ยวจะเข้าใจและรับรู้ว่าเกาะโหลนเป็นจุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยว อย่างไร 3) รัฐบาลมีส่วนสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนเกาะโหลนจังหวัดภูเก็ตอย่างไร บ้าง ดังนั้นการรับรู้และเข้าใจถึงปัจจัยความสําเร็จที่สําคัญของการศึกษาในครั้งนี้คือการวัดความสําเร็จที่สําคัญของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชน (CBET)ยิ่งไปกว่านั้นการศึกษาเรื่องปัจจัยความสําเร็จที่สําคัญในครั้งนี้ มีส่วนช่วยให้เกิดแรงจูงใจเชิงกลยุทธ์ที่ดีซึ่งมีอิทธิพลที่ ส่งผลต่อการประสบความสําเร็จขององค์กร งานวิจัยในครั้งนี้ผู้เขียนใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยตลอดการ ศึกษาวิจัยนี้มีการจําแนกประเภทของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของชุมชน ผลการวิจัยพบว่าการท่องเที่ยวชุมชน (Community - based tourism - CBT) ในเกาะโหลน เกิดจาก แผนการพัฒนาและสนับสนุนของรัฐบาล กิจกรรมการท่องเที่ยวชุม (CBT) เพื่อการส่งเสริม พัฒนา และอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ทั้งนี้โดยการร่วมมือกับชาวประมงมุสลิมในท้องถิ่นทั้งทางด้านวัฒนธรรมและการพัฒนาทักษะของคนในท้องถิ่นและการสร้างจิตสํานึกด้านสิ่งแวดล้อมของนักท่องเที่ยวและเจ้าบ้านen_US
Appears in Collections:816 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
426803.pdf9.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons