Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18994
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRonnason Chinram-
dc.contributor.authorWasitthirawat Krailoet-
dc.date.accessioned2023-10-24T04:32:46Z-
dc.date.available2023-10-24T04:32:46Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18994-
dc.descriptionMaster of Science (Mathematics), 2022en_US
dc.description.abstractA ternary semigroup is an algebraic structure (T,(·)) such that T is a non-empty set and (·): T 3→ T is a ternary operation satisfying the associative law, i.e., (abc)de = a(bcd)e = ab(cde) for all a, b, c, d, e ∈ T, and let S be a spherical fuzzy subset of a universal set S defined by S := {< x, µS(x), ηS(x), νS(x) >| x ∈ S} where µS, ηS and νS be three fuzzy subsets of S with the condition 0 ≤ (µS(x))2 + (ηS(x))2 + (νS(x))2 ≤ 1. Then µS(x), ηS(x) and νS(x) are called the degree of membership, the degree of hesitancy and the degree of non-membership, respectively. The main purpose of this thesis is to study spherical fuzzy ternary subsemigroups and spherical fuzzy ideals in ternary semigroups by using the concepts of ternary subsemigroups and ideals in ternary semigroups. Moreover, we study roughness of spherical fuzzy sets and spherical fuzzy ideals in ternary semigroups.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectternary semigroupen_US
dc.subjectfuzzy logicen_US
dc.titleApplications of Spherical Fuzzy Sets in Ternary Semigroupsen_US
dc.title.alternativeการประยุกต์ของเซตวิภัชนัยทรงกลมในกึ่งกรุปไตรภาคen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Mathemetics and Statistics)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ-
dc.description.abstract-thกึ่งกรุปไตรภาค เป็นโครงสร้างทางพีชคณิต (T,(·)) ซึ่งมีT เป็นเซตไม่ว่าง และ มีฟังก์ชัน (·) จาก T ×T ×T ไปยัง T เป็นการดำเนินการไตรภาค ที่สอดคล้องกับกฎการเปลี่ยน หมู่ นั่นคือ (abc)de = a(bcd)e = ab(cde) สำหรับทุก a, b, c, d, e ∈ T และเราให้S เป็น เซต ย่อยวิภัชนัยทรงกลม ของเซตเอกภพสัมพัทธ์S นิยามโดย S := {< x, µS(x), ηS(x), νS(x) >| x ∈ S} เมื่อ µS, ηS และ νS เป็นเซตย่อยวิภัชนัยของ S โดยมีเงื่อนไข 0 ≤ (µS(x))2 + (ηS(x))2 + (νS(x))2 ≤ 1 เราเรียก µS(x) ηS(x) และ νS(x) นี้ว่า ระดับขั้นความเป็นสมาชิก ระดับขั้น ความลังเล และระดับขั้นความไม่เป็นสมาชิก ตามลำดับ จุดประสงค์หลักของวิทยานิพนธ์นี้คือ เพื่อศึกษากึ่งกรุปย่อยไตรภาควิภัชนัยทรงกลม และไอดีลวิภัชนัยทรงกลมในกึ่งกรุปไตรภาค โดยใช้แนวคิดของกึ่งกรุปย่อยไตรภาค และไอดีลในกึ่ง กรุปไตรภาค นอกจากนี้เราได้ศึกษา "ความหยาบ" ของเซตวิภัชนัยทรงกลม และไอดีลวิภัชนัยทรงกลมในกึ่งกรุปไตรภาคด้วยเช่นกันen_US
Appears in Collections:322 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310220035.pdf186.83 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons