Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18988
Title: การศึกษาผลกระทบของการออกแบบสถาปัตยกรรมของแอพลิเคชั่นสําหรับสตรีมวิดีโอที่แตกต่างกันต่อคุณภาพการให้บริการบนเครือข่าย LTE
Other Titles: A Study of Effect of Architectural Design on Quality of Service of a Live Streaming Application with Multiple Endpoints over LTE Network
Authors: ชินพงศ์ อังสุโชติเมธี
ชารีฟ ประภาวิทย์
Faculty of Science (Computer Science)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
Keywords: สถาปัตยกรรม;การออกแบบ;สตรีมมิงวิดีโอ
Issue Date: 2022
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: The number of streaming service providers has been increasing dramatically every year. Hence, users may prefer to publish their stream to multiple service endpoints simultaneously to increase visibility. However, most service providers prefer to monopolize their services. Hence, a study of a suitable architectural design of a streaming service that supports multiple streaming endpoints has not gained lots of attention. In this study, the effect of adopting different architectural design on developing a live streaming service over LTE network which can supports multiple streaming endpoints are investigated. Two major designs are selected which are a selective forwarding unit-based architecture, and a non-selective forwarding unit-based architecture. The results suggest that a selective forwarding unit architecture has an advantage over a non-selective forwarding unit-based architecture on keeping the overall average streaming end-to-end delay to be minimum., while a fluctuation in an end-to-end delay occurs in a non-selective forwarding unit based architecture in our experiment testbed. The results, discussions, and suggestions on future studies are given at the end of this study.
Abstract(Thai): จํานวนผู้ให้บริการสตรีมมิ่งเพิ่มขึ้นอย่างมากทุกปี ดังนั้นผู้ใช้บริการที่ต้องการเผยแพร่สตรีม ของตนไปยังผู้ให้บริการหลายแห่งเพื่อเพิ่มการมองเห็นจากผู้ชม อย่างไรก็ตาม ผู้ให้บริการส่วนใหญ่ ต้องการผูกขาดบริการของตน ทําให้การศึกษาการออกแบบสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมของบริการ สตรีมมิ่งที่รองรับหลายปลายทางการสตรีมจึงไม่ได้รับความสนใจมากนัก ในการศึกษานี้จะตรวจสอบ ผลกระทบของการนําการออกแบบสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกันมาใช้ในการพัฒนาบริการสตรีมมิ่งแบบ สดผ่านเครือข่าย Long Term Evolution(LTE) ซึ่งสามารถรองรับปลายทางการสตรีมหลายจุด การ ออกแบบที่สําคัญสองแบบซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแบบใช้หน่วยการส่งต่อแบบคัดเลือกและ สถาปัตยกรรมแบบไม่ใช้หน่วยการส่งต่อแบบคัดเลือก ผลลัพธ์ที่ได้แสดงให้เห็นว่าสถาปัตยกรรมแบบ ที่ใช้หน่วยการส่งต่อแบบคัดเลือกมีข้อได้เปรียบเหนือสถาปัตยกรรมที่ไม่ใช้หน่วยส่งต่อแบบคัดเลือก โดยรักษาการหน่วงเวลาการสตรีมจากต้นทางถึงปลายทางโดยเฉลี่ยน้อยกว่า ในขณะที่การหน่วงเวลา ของสถาปัตยกรรมแบบไม่ใช้หน่วยการส่งต่อแบบคัดเลือกจากต้นทางถึงปลายทางจะผันผวน ในแบบ การทดลองนี้ ผลลัพธ์ การอภิปราย และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการศึกษาในอนาคตท้ายการศึกษานี้
Description: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์), 2565
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18988
Appears in Collections:344 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6210220095.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons