Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18986
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติกร นิลมานัต-
dc.contributor.authorทิพย์ศิริ สหวรพันธุ์-
dc.date.accessioned2023-10-24T03:32:26Z-
dc.date.available2023-10-24T03:32:26Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18986-
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอาย), 2565en_US
dc.description.abstractThis descriptive research aimed 1) to describe level of the renal replacement therapy nurse practitioner’s competency in Advance Care Planning (ACP), and 2) to examine the correlation between renal replacement therapy nurse practitioner’s competency in ACP and related factors. The sample size were 385 renal replacement therapy nurse practitioners in 41 secondary and 23 tertiary hospitals in 13 Thailand health regions. The sample size was calculated by Yamane formulation, and a proportionatestratified sampling method was used. The instruments used in the collecting data including a demographic data form, and an instrument to measure renal replacement therapy nurse practitioner’s competency in ACP. The content validity index (CVI) of instrument was .96 by five experts, the Alpha Cronbach reliability was .98. Descriptive statistics, Pearson’s product moment correlationand Point biserial correlation were used to analyze the data. The result showed that: 1) the renal replacement therapy nurse practitioner had overall competency in ACP at a moderate level (M = 3.47, SD = .83). When considering each component, the renal replacement therapy nurse practitioner’s competency in ACP with communication were the highest level (M = 3.52, SD = .89), followed by identifying and assessment (M = 3.48, SD = .81), and summary and monitoring (M =3.40, SD = .87), respectively; 2) In term of the factors related to the renal replacement therapy nurse practitioner’s competency in ACP, the renal replacement therapy nurse practitioner’s age, job experiences, level of education, the number of renal patients in ACP, and the training palliative were positive correlation with renal replacement therapy nurse practitioner’s competency in ACP at a significance (r = .47, r = .38, r = .25, r = .47, r = .33, p < .01, respectively) The results of this research can be used for improving the renal replacement therapy nurse practitioner’s competency of ACP. Further study could be training for developing renal replacement therapy nurse practitioner to have competency in ACP for chronic kidney patients.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการวางแผนดูแลล่วงหน้าen_US
dc.subjectพยาบาลเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไตen_US
dc.subjectจรรยาบรรณพยาบาลen_US
dc.subjectผู้ป่วยโรคไตen_US
dc.titleสมรรถนะการวางแผนดูแลล่วงหน้าของพยาบาลเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต และปัจจัยที่เกี่ยวข้องen_US
dc.title.alternativeRenal Replacement Therapy Nurse Practitioner’s Competency in Advance Care Planning and Related Factorsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Adult and Elderly Nursing)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ-
dc.description.abstract-thการศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับสมรรถนะการวางแผน ดูแลล่วงหน้าของพยาบาลเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไตและ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะ การวางแผนดูแลล่วงหน้าของพยาบาลเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มตัวอย่าง เป็นพยาบาลเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไตที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป 41 แห่งและโรงพยาบาล ศูนย์ 23 แห่งภายใต้บริบท 13 เขตสุขภาพของสังกัดกระทรวงสาธารณสุขจำนวน 385 คน กำหนด ขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรของยามาเน การสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลทั ่วไป และ 2) แบบประเมินการรับรู้สมรรถนะการวางแผนดูแลล ่วงหน้าของ พยาบาลเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไตผ ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่า CVI เท่ากับ .96 และทดสอบค่าความเที่ยงใช้สัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้ค่า .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติสหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล ผลวิจัย พบว่า 1) สมรรถนะการวางแผนดูแลล่วงหน้าของพยาบาลเวชปฏิบัติการ บำบัดทดแทนไต โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (M = 3.47, SD = .83) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการอภิปรายมีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด (M = 3.52, SD = .89) รองลงมา คือ ด้านการค้นหาผู้ป่วย และการประเมิน (M = 3.48, SD = .81) และด้านการสรุปผลและการติดตาม (M = 3.40, SD = .87) ตามลำดับ 2) ความสัมพันธ์ของตัวแปรกับสมรรถนะการวางแผนดูแลล่วงหน้าของพยาบาลเวช ปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต ได้แก่ อายุ ประสบการณ์ทำงาน ระดับการศึกษา จำนวนการดูแลผู้ป่วย โรคไตเรื้อรังที ่ได้รับการวางแผนดูแลล่วงหน้า และการได้รับการอบรมเกี ่ยวกับการดูแล ประคับประคองมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะการวางแผนดูแลล่วงหน้าอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (r = .47, r = .38, r = .25, r = .47, r = .33, p < .01 ตามลำดับ) จากผลการวิจัยสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาสมรรถนะการวางแผนดูแลล่วงหน้าของพยาบาลพยาบาลเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต และควรมีการอบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาพยาบาลเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไตให้มีสมรรถนะการวางแผนดูแลล่วงหน้าในการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังen_US
Appears in Collections:646 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310420051.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons