Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18983
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผจงศิลป์ เพิงมาก | - |
dc.contributor.author | แวนุรมี วาเลาะ | - |
dc.date.accessioned | 2023-10-24T02:58:37Z | - |
dc.date.available | 2023-10-24T02:58:37Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18983 | - |
dc.description | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | This quasi-experimental research aimed to examine the effect of self-efficacy promoting program through family participation upon food consumption knowledge, food behaviors and nutritional status among upper-primary school wasting Muslim children. The sample consisted of 50 wasting Muslim children. The first group of 25 wasting Muslim children students was assigned as the control group, gaining knowledge and health promotion activity, based on standard care. The other 25 Children were assigned as the experimental group, receiving self-efficacy promoting program through family participation procedure in week 1 - 8. The instruments comprised 2 sets. The first set of data collection instrument consisted of (1) demographic questionnaire (of family and school-aged children), (2) the self-efficacy in food consumption questionnaire (SeQ), (3)the food consumption knowledge questionnaire (FkQ) and (4) the food behavior questionnaire (FbQ) of the school-aged children, and (5) the family participation questionnaire (FpQ). The second set was the experimental instruments that covered the self-efficacy promoting program (through family participation), a guide book, “named Ibadah”, that followed “Tay-Yip” principles, telephone follow-up tracking record, and a video guide to promote Islamic diets. All of these instruments were validated for content validity by 3 experts. The content validity of the entire toolkit (S-CVI) was measured, obtaining a S-CVI value of 1. In addition, The CVI of each tool, namely the self-efficacy questionnaire (SeQ), the food consumption knowledge questionnaire (FkQ), and the food behavior questionnaire (FbQ), were 0.89, 1.00, and 0.96 respectively. The SeQ, FbQ and FpQ were tested for reliability using Cronbach’s alpha, yielding 0.87, 0.83, and 0.75 respectively. The FkQ was tested using Kuder - Richardson 20 (KR - 20) and yielded the value of 0.85. Results: Among the experiment group: the mean scores after implementation of self-efficacy (Se), food consumption knowledge (Fk), and food behavior (Fb), including body weight of the school-aged wasting Muslim children were significantly greater that the baseline mean scores, at p < 0.05. When compared the mean scores of Se, Fk, and Fb between the experimental and control groups, data revealed that all of the the mean scores of Se, Fk, and Fb were statistically greater than those of the control group, at p< 0.05. However, the mean scores of body weight among two group were non - statistically significant difference. The study results indicate that the self - efficacy promoting program through family involvement could be utilized to promote self - efficacy and to modify their food consumption behaviors. Consequently the wasting school-aged Muslim children were able to change their food consumption behaviors and improve their weight gain. The program should be tested in other settings to ensure it effectiveness. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Self - Efficacy Promoting Program | en_US |
dc.subject | Self-Efficacy | en_US |
dc.subject | Food Consumption | en_US |
dc.subject | Knowledge | en_US |
dc.subject | Muslim | en_US |
dc.subject | Food Behaviors | en_US |
dc.subject | family Participation | en_US |
dc.subject | Wasting Upper-Primary School Children | en_US |
dc.subject | วัยรุ่นมุสลิม โภชนาการ | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมการบริโภคอาหาร | en_US |
dc.subject | นักเรียนประถมปลายที่มีภาวะผอม | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อความรู้การบริโภคอาหาร พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และภาวะโภชนาการในเด็กมุสลิมวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะผอม | en_US |
dc.title.alternative | Effect of Self Efficacy Promoting Program through Family Participation upon Food Consumption Knowledge, Food Behaviors and Nutritional Status among Upper-Primary School Wasting Muslim Children | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Nursing (Public Health Nursing) | - |
dc.contributor.department | คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรม ส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อความรู้การบริโภคอาหาร พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และภาวะโภชนาการในเด็กมุสลิมวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะผอม กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กมุสลิมวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะผอมจำนวน 50 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตาม คุณสมบัติที่กำหนด และแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยเด็กวัยเรียน 25 รายแรก เป็นกลุ่มควบคุม ได้รับ ความรู้การส่งเสริมสุขภาพตามมาตรฐานจากคุณครู และ 25 รายหลัง เป็นกลุ่มทดลอง ซึ่งได้รับการ ดูแลตามโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการมีส่วนร่วมของครอบครัวในสัปดาห์ที่ 1 และ 8 เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย (1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กวัยเรียนครอบครัว (2) แบบสอบถามการรับรู้ สมรรถนะแห่งตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร (3) แบบสอบถามความรู้เรื่องการ บริโภคอาหาร (4) แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กมุสลิมวัยเรียนตอนปลายที่มี ภาวะผอม และ (5) แบบสอบถามการมีส่วนร่วมของครอบครัว และ 2) เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการ ทดลอง ประกอบด้วย โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว คู่มือรวมใจทำอิบาดะฮฺตามหลักตอยยิบ แบบบันทึกการติดตามทางโทรศัพท์วีดิทัศน์การส่งเสริมการ รับประทานอาหารตามหลักศรัทธาในศาสนาอิสลาม เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิง เนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ได้แก่แบบสอบถามความรู้ด้านการบริโภคอาหาร และ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัว นำมาหาค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของ เครื่องมือทั้งชุด (S-CVI) ได้เท่ากับ 1 ตามลำดับ และแบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตน แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กมุสลิมวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะผอม นำมาหาค่า ดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือทั้งชุด (S-CVI) ได้เท่ากับ 0.89 และ 0.96 ตามลำดับ ต่อมานำ แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของเด็กวัยเรียน แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารและแบบสอบถามการมีส่วนร่วมของครอบครัวนำไปทดสอบความเที่ยงในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 ราย ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.87, 0.83, 0.75 ตามลำดับ ส่วนแบบสอบถามความรู้ด้านการบริโภคอาหารนำหาค่าความสอดคล้อง ภายในโดยใช้สูตรคูเดอร์ริชาร์ดสัน 20 (KR - 20) ได้เท่ากับ 0.85 การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลใช้ สถิติบรรยาย ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการทดสอบ สมมติฐานการวิจัย ใช้สถิติที ผลการวิจัย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของเด็กวัยเรียน ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านการบริโภคอาหาร ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และ ภาวะโภชนาการของเด็กมุสลิมวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะผอมหลังได้รับโปรแกรมสูงกว่าก่อนได้รับ โปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของ เด็กวัยเรียน ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ด้านการบริโภคอาหาร ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการรับประทาน อาหารของกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่น้ำหนักของเด็กมุสลิมวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะผอมก่อนและหลังการทดลอง ไม่แตกต่างกัน ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนโดยการมีส่วน ร่วมของครอบครัวสามารถส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค อาหาร เป็นโปรแกรมที่มีคุณค่าและสามารถนำไปใช้ในการดูแลเด็กมุสลิมวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะ ผอมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้เหมาะสม และส่งเสริมการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัว ให้ดีขึ้นได้ในระยะยาว และควรทำการทดสอบประสิทธิภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียนอื่นต่อไปด้วย | en_US |
Appears in Collections: | 610 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6110420033.pdf | 2.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License