Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18982
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมลมาศ ปฤชากุล-
dc.contributor.authorปิยธิดา คงวิมล-
dc.date.accessioned2023-10-24T02:44:05Z-
dc.date.available2023-10-24T02:44:05Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18982-
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ภาษาไทย), 2565en_US
dc.description.abstractThis thesis aimed at studying the discourses of virtuous women in editorials, articles, interview texts and advertisements from 1,124 issues of Kullastree Magazine from 1971 to 2018. Two models of analysis were employed: the speech components by Hymes (1974) and Critical Discourse Analysis (CDA) by Fairclough (1995). The findings of the study revealed 9 language strategies that conveyed ideologies. These strategies could be classified into the following 3 groups: 1) strategies expressing pre-existing beliefs including word choice or word group, presupposition, metaphor, conditional sentence and proverb, 2) guiding strategies including modality and reference, and 3) guiding reinforcement strategies including intertextuality and rhetorical question. Moreover, three major discourses on the virtuous women were identified: perfect housewife ideology, modern famine ideology, and ideology of women staying pretty. Pertaining to the findings on discourse practice, these indicated that the mindsets conveyed through the texts in the magazine were prone to easily influence readers’ thought. In terms of text reception and interpretation, it was found that discourse recipients would accept the power of discourse senders, and this would result in changes which were in accordance with social and cultural contexts in each era. The findings on social and cultural practices conveyed through Kullastree Magazine for 47 years showed that the practices have probably fashioned Thai people’s thought and beliefs, resulting in them becoming the following 5 ideologies: patriarchy, feminism, individualism, capitalism and consumerism. Therefore, it could be claimed that “the virtuous woman discourses” conveyed in Kullastree Magazine were dynamic in presenting women concepts and practices which were in accordance with expectancy endorsed in the consistently changing society.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectวาทกรรมen_US
dc.subjectกุลสตรีen_US
dc.subjectภาษาไทยen_US
dc.subjectวจนะวิเคราะห์en_US
dc.titleวาทกรรม“กุลสตรี” ในนิตยสารกุลสตรีen_US
dc.title.alternativeDiscourse of“Virtuous Women” in Kullastree Magazineen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Humanities and Social Sciences (Social Sciences)-
dc.contributor.departmentคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์-
dc.description.abstract-thวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาวาทกรรมกุลสตรีจากบทบรรณาธิการ บทความ บทสัมภาษณ์ และบทโฆษณา ในนิตยสารกุลสตรี ตั้งแต่ พ.ศ. 2514- 2561 รวมทั้งสิ้น 1,124 ฉบับ โดยนำการวิเคราะห์องค์ประกอบของถ้อยคำที่สื่อสาร (components of speech) ของ ไฮมส์ (Hymes, 1974) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ตามแนวทฤษฎีวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (critical discourse analysis หรือ CDA) ของแฟร์คลัฟ (Fairclough, 1995) มาเป็นแนวทางในการศึกษา ผลการศึกษาพบกลวิธีทางภาษาที่สื่ออุดมการณ์ 9 กลวิธี สามารถแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ 1) กลวิธีการแสดงความเชื่อที่มีอยู่ก่อน ได้แก่ การเลือกใช้คำศัพท์หรือกลุ่มคำ การใช้มูลบท การใช้อุปลักษณ์ การใช้ประโยคเงื่อนไขและการใช้สำนวน 2) กลวิธีการชี้นำได้แก่ การใช้คำแสดงทัศนภาวะ และการกล่าวอ้าง 3) กลวิธีเสริมการชี้นำ ได้แก่ การใช้สหบทและการใช้คำถามวาทศิลป์ นอกจากนี้ยังพบวาทกรรมที่เกี่ยวกับกุลสตรีได้นำเสนอวาทกรรมหลัก 3 ชุด คือ วาทกรรมแม่ศรีเรือน วาทกรรมผู้หญิงสมัยใหม่และวาทกรรมผู้หญิงอย่าหยุดสวย ผลการศึกษาวิถีปฏิบัติทางวาทกรรมชี้ให้เห็นว่า ชุดความคิดต่าง ๆ ที่ถ่ายทอดผ่านตัวบทของนิตยสารมีแนวโน้มที่จะมีอิทธิพลต่อความคิดของผู้อ่านได้ง่าย ในการรับและตีความตัวบท พบว่า ผู้รับวาทกรรมจะยอมรับในอำนาจของผู้ส่งวาทกรรมจนทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่สอดรับกับบริบทของสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละยุคสมัย ผลการศึกษาวิถีปฏิบัติทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งส่งผ่านนิตยสารกุลสตรีมาตลอดระยะเวลาที่ยาวนานถึง 47 ปีพบว่า อาจส่งผลต่อความคิดและความเชื่อของคนในสังคมไทยในด้านต่าง ๆ จนเกิดเป็นอุดมการณ์สำคัญ 5 อุดมการณ์ คือ อุดมการณ์ปิตาธิปไตย อุดมการณ์สตรีนิยม อุดมการณ์ปัจเจกนิยม อุดมการณ์ทุนนิยม และอุดมการณ์บริโภคนิยม ด้วยเหตุนี้จึงอาจสรุปได้ว่า “วาทกรรมกุลสตรี” ที่ปรากฏในนิตยสารกุลสตรีมีความลื่นไหล เพื่อนำเสนอแนวคิดและวิถีปฏิบัติสำหรับผู้หญิงที่สอดรับและเท่าทันกับความมุ่งหวังของสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอen_US
Appears in Collections:427 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5820230014.pdf5.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons