Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18244
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนริสรา นุธรรมโชติ-
dc.contributor.authorวารุณี ดือเระ-
dc.date.accessioned2023-10-17T07:05:40Z-
dc.date.available2023-10-17T07:05:40Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18244-
dc.descriptionวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม), 2566en_US
dc.description.abstractCurrently, Climate change is recognized as the main problem that affects the entire planet, especially in business field. The Carbon Footprint of Organization is a method of measuring the effects of global warming. This research investigates Carbon Footprint of Organization assessment and approaches to reduce greenhouse gas emissions for beverage factories. The purpose of this research is to assess greenhouse gas emissions from internal activities and to plan strategies for reducing greenhouse gas effectively. According to the Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public organization) Carbon Footprint for Organization assessment guidelines has shown the total amount of carbon footprint for organization per year was 61,300 tons CO2 equivalent in 2020. The carbon footprints of scopes 1,2 and 3 were discovered at 9,576, 7,031 and 44,693 tons CO2 equivalent per year, respectively. Moreover, it was discovered that activities in scope 3 which is indirect emissions, accounted for 72.91% of total greenhouse gas emission. The use of plastic packaging produces the most greenhouse emission, accounted for 99.87%. A guideline for reducing greenhouse gases from the activities that mostly release greenhouse gas emissions is to reduce the packaging weight and the use of packaging that made from recycled polyethylene terephthalate (rPET).en_US
dc.description.sponsorshipบริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectแนวทางลดก๊าซเรือนกระจกen_US
dc.subjectคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรen_US
dc.subjectโรงงานผลิตเครื่องดื่มen_US
dc.titleการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรและแนวทางการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของโรงงานผลิตเครื่องดื่มen_US
dc.title.alternativeCarbon Footprint of Organization and Approaches to Reducing Greenhouse Gas Emissions for Beverage Factoryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Environmental Management (Environmental Management)-
dc.contributor.departmentคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม-
dc.description.abstract-thปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นประเด็นปัญหาที่มีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็วซึ่งได้รับผลกระทบทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง และหนึ่งในเครื่องมือที่ใช้วัดผลกระทบดังกล่าวคือคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (Carbon Footprint for Organization) ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรและแนวทางการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสำหรับโรงงานผลิตเครื่องดื่ม มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมภายในองค์กร ตลอดจนหาแนวทางบริหารจัดการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีขอบเขตการศึกษาในปี พ.ศ. 2563 ตามแนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร โดยองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) โดยผลการศึกษาพบว่ามีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งสิ้น 61,300 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี โดยแบ่งประเภทที่ 1, 2 และ3 มีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทั้งสิ้น 9,576, 7,031 และ 44,693 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปีตามลำดับ โดยพบว่ากิจกรรมในประเภทที่ 3 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่นๆ มีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 72.91 จากปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด โดยกิจกรรมการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกมีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 99.87 ซึ่งสําหรับแนวทางลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุด คือ การลดน้ำหนักของบรรจุภัณฑ์ และการใช้บรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากพลาสติกรีไซเคิล (Recycled polyethylene terephthalate ; rPET) จะสามารถช่วยให้องค์กรลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ในอนาคตen_US
Appears in Collections:820 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6410920020.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons