Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18216
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุใจ ส่วนไพโรจน์-
dc.contributor.authorฝ้ายลิกา ยาแดง-
dc.date.accessioned2023-10-16T02:38:17Z-
dc.date.available2023-10-16T02:38:17Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18216-
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา), 2565en_US
dc.description.abstractThe purpose of this quasi-experimental research was to examine the effects of group psychology counseling based on positive psychology concepts on improving the well-being of students from divorced families. The target group was students at the Diploma Program (High Vocational Certificate), Pattani Vocational College, Pattani Province, totaling 8 persons from divorced families who voluntarily participated in the experimental group. The psychology counseling program was based onthe conceptof positive psychology, comprising 12 sessions, in a total of 90 minutes for each session. The resultsof the research were: (1) a group counseling program based onthe positive psychology concept consisting of hope, flexibility, optimism, self-efficacy; (2) the estimation of psychological well-being which was the statistically confident value of 0.78, consisting of 4 aspects, namely physical, mental, social, and cognitive aspects. Thetarget group was assessed by the pre-test and post-experimentalhealth measures. The statistics used in the analysis were percentage, mean, standard deviation, relative development scores, and the Wilcoxon Matched Pairs Signed Ranks Test statistics. Research Results 1. After participating in the positive psychology group counseling program, students from divorced families had statistically significantly higher levels of psychological well-being than before participating in the counseling program at the level 05. 2. The level of relative health improvement among students from divorced familiesafter participating inthe positive psychologygroup counseling program showed an average 80.69% increase in their relative psychological well-being improvement, which was at a very high level. 3. Group counseling based on the concept of positive psychology resulted in higher levels of well-being among students from divorced families in all respects, with the highest levels of psychological well-beingen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการปรึกษาen_US
dc.subjectครอบครัวหย่าร้างen_US
dc.subjectจิตวิทยาเชิงบวกen_US
dc.subjectสุขภาวะen_US
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มen_US
dc.titleผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มด้วยแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะแก่นักศึกษาครอบครัวหย่าร้างen_US
dc.title.alternativeThe Effects of Group Psychological Counseling Based on Positive Psychology for Well-being Promotion Divorced Family Studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Psychology and Counseling)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว-
dc.description.abstract-thการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มด้วย แนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะแก่นักศึกษาครอบครัวหย่าร้าง โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี จังหวัดปัตตานีที่มา จากครอบครัวหย่าร้าง จำนวน 8 คน สมัครใจเข้าร่วมโปรแกรมให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มด้วย แนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก จำนวน 12 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) โปรแกรม การให้การปรึกษาแบบกลุ่มด้วยแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก ประกอบด้วย ความหวัง ความหยุ่นตัว การมองโลก ในแง่ดีและการรับรู้ความสามารถของตนเอง (2) แบบวัดสุขภาวะมีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.78 ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านปัญญา กลุ่มตัวอย่างได้รับการประเมินแบบวัด สุขภาวะก่อนทดลองและหลังทดลอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ และสถิติทดสอบสมมติฐาน The Wilcoxon Matched Pairs Signed Ranks Test ผลการวิจัย 1. หลังการเข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มด้วยแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก นักศึกษาครอบครัวหย่าร้างมีระดับสุขภาวะสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาอย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 2. ระดับพัฒนาการสัมพัทธ์สุขภาวะของนักศึกษาที่มาจากครอบครัวหย่าร้างหลังการเข้าร่วม โปรแกรมให้การปรึกษาแบบกลุ่มด้วยแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก มีพัฒนาการสัมพัทธ์สุขภาวะเพิ่มขึ้น เฉลี่ยร้อยละ 80.69 อยู่ในระดับสูงมาก 3. โปรแกรมให้การปรึกษาแบบกลุ่มด้วยแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกส่งผลให้นักศึกษาครอบครัว หย่าร้างมีสุขภาวะที่สูงขึ้นทุกด้าน โดยด้านจิตใจมีระดับสุขภาวะสูงที่สุดen_US
Appears in Collections:286 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6020121003.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons