Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18205
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ระวี เจียรวิภา | - |
dc.contributor.author | นัฐริษา ลิ่มจำเริญ | - |
dc.date.accessioned | 2023-10-12T03:27:34Z | - |
dc.date.available | 2023-10-12T03:27:34Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18205 | - |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พืชศาสตร์), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | Harvesting season may affect the development, morphology, leaf physiology and quality of cocoaafter harvesting. To clarityon this aspecta comparative study in rainy season and dry season was established and physical characteristics and phytochemical constituents in cocoa beans and leaves, and the effect of storage time and temperature on the quality of cocoa production. Was investigational data on morphology and physiology of leaf and seed characteristics, and flavor qualities of cocoa were recorded in both seasons. The results showed that the cocoa leaves harvested during the rainy season had a larger leaf area, a higher weight in fresh and dry, as well as the amount of phytochemicals, such as antioxidants, free phenolic compounds, flavonoids and tannins, than those harvested in the dry season. The study found the highest values of leaf area, fresh and dry weights, and the most specific leaf weight at the last stage (S4) or leaf age of 28-34 days. The leaf age of 9-14 days or the stage 1 (S1) exhibited the highest values of redness and phytochemicals than those of the other stages. In comparing the two harvesting seasons, the fresh pod weight, fresh weight of beans per pod, average fresh weight of cocoa beans, dry weight of cocoa beans and fat content in the cocoa bean during the rainy season were significantly higher than those of the beans harvested during the dry season. In the dry season, harvested cocoa beans were observed in fully brown form, which contained the best quality seeds, with the maximum values of full brown among the treatments. Regarding the raw bean aroma under the external evaluation and organoleptic evaluation, the cocoa beans harvested during the dry season had a richer and more complex flavor than those harvested during the rainy season. In the storage temperature experiment, the weight loss and browning index of cocoa beans stored at 15 °C were significantly less than those stored at 29 °C. Significantly higher numbers of the lightness, hue and firmness of the cocoa’s skin were found at the low-temperature storage during the storage life from 6 to 10 days, 2 to 8 days, and 4 to 8 days, respectively. However, the different storage temperatures did not influence TSS, TA and TSS/TA of the cacao pulp. Thus, this study shows that cocoa harvesting during the rainy season has a positive effect on the quality of cocoa leaves and pods due to the high content of phytochemicals in the leaves, cocoa beans and pods, and their good physical quality and flavor. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | โกโก้ | en_US |
dc.subject | กลิ่นรสทางประสาทสัมผัส | en_US |
dc.subject | เมล็ดโกโก้เเห้ง | en_US |
dc.subject | คุณภาพของโกโก้ | en_US |
dc.subject | การเก็บรักษาโกโก้ | en_US |
dc.subject | ใบโกโก้ | en_US |
dc.title | ผลของฤดูกาลการเก็บเกี่ยวและอายุการเก็บรักษาต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสรีรวิทยา และองค์ประกอบทางพฤกษเคมีในเมล็ดและใบโกโก้ | en_US |
dc.title.alternative | Effects of Seasonal Harvesting and Shelf Life Pod on Physiological and Phytochemical Changes in Beans and Leaves of Cocoa | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Natural Resources (Plant Science) | - |
dc.contributor.department | คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | ฤดูกาลเก็บเกี่ยวอาจจะมีผลต่อการพัฒนาการ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา และ สรีรวิทยาของใบ รวมถึงคุณภาพผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวโกโก้ เพื่อความชัดเจนในประเด็นนี้ จึงศึกษา เปรียบเทียบในฤดูฝนและฤดูแล้ง ทำการศึกษาอิทธิพลของฤดูกาลเก็บเกี่ยวต่อลักษณะทางกายภาพ และองค์ประกอบทางพฤกษเคมีในเมล็ดและใบโกโก้ รวมถึงอุณหภูมิและระยะเวลาในการเก็บรักษา ต่อคุณภาพของผลผลิตโกโก้ โดยแบ่งเป็นการทดลองที่ 1 บันทึกข้อมูลลักษณะทางสัณฐานวิทยา และ สรีรวิทยาของใบ และลักษณะเมล็ดและคุณภาพด้านกลิ่นรสผลโกโก้ทั้ง 2 ฤดูกาล ส่วนการทดลองที่ 2 ศึกษาผลของระดับอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาต่อคุณภาพฝักโกโก้ ผลการทดลอง พบว่า ใบ โกโก้ที่เก็บเกี่ยวช่วงฤดูฝน มีพื้นที่ใบ น้ำหนักสด น้ำหนักแห้ง รวมถึงพบปริมาณสารพฤกษเคมี ได้แก่ สารต้านอนุมูลอิสระ สารประกอบฟีนอลิก ฟลาโวนอยด์ และแทนนิน มากกว่าการเก็บเกี่ยวในช่วงฤดู แล้ง ขณะเดียวกัน การเก็บเกี่ยวใบโกโก้ในช่วงระยะพัฒนาการที่ 4 (S4) หรือใบมีอายุ 28-34 วัน มี พื้นที่ใบ น้ำหนักสด น้ำหนักแห้งของใบ และน้ำหนักใบจำเพาะมากที่สุด ในขณะที่ใบระยะที่ 1 (S1) อายุ 9-14 วัน ซึ่งเป็นใบที่มีค่าความเป็นสีแดงของใบมากที่สุด พบปริมาณสารพฤกษเคมีมากกว่าใบ ระยะพัฒนาการอื่น ๆ ส่วนการเก็บเกี่ยวฝักโกโก้ 2 ฤดูกาลเก็บเกี่ยว พบว่า น้ำหนักสดฝัก น้ำหนักสด เมล็ด/ฝัก น้ำหนักสดเฉลี่ยต่อเมล็ด และน้ำหนักแห้งเฉลี่ยต่อเมล็ดมากที่สุด คือ ฝักโกโก้ที่เก็บเกี่ยวในช่วง ฤดูฝน มีค่าสูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญกับการเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ง ในขณะที่ การเก็บเกี่ยวผลโกโก้ทั้งสอง ฤดูกาลมีเปอร์เซ็นต์ไขมันในเมล็ดไม่แตกต่างทางสถิติ ทั้งนี้การเก็บเกี่ยวฝักโกโก้ในช่วงฤดูแล้งพบเมล็ด โกโก้แบบ Fully brown ซึ่งเป็นเมล็ดคุณภาพดีมากที่สุด ในขณะที่ การวิเคราะห์กลิ่นรสของเมล็ดโกโก้ แห้ง และเมล็ดโกโก้ภายหลังการคั่ว พบว่า เมล็ดโกโก้ที่เก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้งมีกลิ่นรสที่หลากหลาย และซับซ้อนมากกว่าการเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูฝน ส่วนในการทดลองที่ 2 พบว่า การเก็บรักษาฝักโกโก้ที่ อุณหภูมิ 15 °C มีการสูญเสียน้ำหนักและดัชนีการเกิดสีน้ำตาล น้อยกว่าการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 29 °C ขณะที่การเก็บรักษาฝักโกโก้ที่ 15 °C มีค่าความสว่าง (L*) ค่ามุมสี (Hue°) และค่าความแน่นเนื้อ ของผลโกโก้สูงกว่าการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 29 °C จากการเก็บรักษาที่ 6-10 วัน 2-8 วัน และ 4-8 วัน ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม การเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่างกันไม่มีอิทธิพลต่อปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ ละลายน้ำได้ ปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ และค่า TSS/TA ของเยื่อหุ้มเมล็ดโกโก้ ดังนั้น การศึกษานี้ แสดงให้เห็นว่า การเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูฝนส่งผลที่ดีต่อคุณภาพของใบเละฝักโกโก้ เนื่องจากใบมี ปริมาณสารพฤกษเคมีสูง เมล็ดเละฝักโกโก้มีคุณภาพทางกายภาพเละกลิ่นรสที่ดี | en_US |
Appears in Collections: | 510 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6210620007.pdf | 1.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License