Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18197
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุริยา จิรสถิตสิน | - |
dc.contributor.author | อัสรี เจ๊ะอุเซ็ง | - |
dc.date.accessioned | 2023-09-12T01:52:29Z | - |
dc.date.available | 2023-09-12T01:52:29Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18197 | - |
dc.description | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการอุตสาหกรรม), 2564 | en_US |
dc.description.abstract | This research focuses on factor analysis for biomass combustion of traveling grate stoker boiler. The regression showed that the moisture content, fuel feed rate, air feed rate, boiler pressure, and boiler temperature affect high-pressure steam production rate, excess oxygen percentage, NOx content, and chimney temperature. By using stepwise quadratic regression for high pressure steam production rate and excess percentage of oxygen and using full quadratic regression for NOx content and chimney temperature, the R – Squared Adjusted: (R2adj) of high pressure steam production, excess percentage of oxygen, NOx content and chimney temperature were 95.60%, 90.60%, 47.21% and 60.51% respectively. The optimum factor was determined using the response optimizer function. It was found that the high-pressure steam production was increased from 91.941 t/h to 100.2877 t/h as a 9.078% improvement. The excess oxygen percentage was decreased from 9.226% to 7.7639% as a 15.848% improvement. Also, the NOx content improved 37.768% by increased from 118.870 ppm to 163.7648 ppm. Furthermore, the chimney temperature improved 8.369% by increased from 158.160 ºC to 171.3961 ºC. From this regression model, it is possible to predict the optimum conditions of biomass fuel humidity, fuel feed rate and FD fan feed rate of biomass power plant based on historical production data. It can be used in this biomass power plant production in the future and also applied for the same chain biomass power plant. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | การเผาไหม้ | en_US |
dc.subject | ชีวมวล | en_US |
dc.subject | หม้อกำเนิดไอน้ำ | en_US |
dc.subject | ถดถอย | en_US |
dc.subject | ตัวแปรผิวสะท้อน | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเผาไหม้เชื้อเพลิงของหม้อกําเนิดไอน้ำแบบท่อน้ำ ระบบสโตกเกอร์สําหรับโรงไฟฟ้าชีวมวล | en_US |
dc.title.alternative | FACTORS ANALYSIS FOR BIOMASS COMBUSTION IN TRAVELING GRATE STROKER BOILER FOR A BIOMASS POWER PLANT | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Engineering (Industrial Engineering) | - |
dc.contributor.department | คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยนี้ทำการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเผาไหม้เชื้อเพลิงชีวมวลของหม้อกำเนิดไอน้ำระบบสโตกเกอร์แบบตะกรับเลื่อน จากการวิเคราะห์สมการถดถอยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการผลิตไอน้ำแรงดันสูง ออกซิเจนส่วนเกินหลังการเผาไหม้ ปริมาณ NOx และ อุณหภูมิก่อนออกปล่องไฟ Stack คือ ค่าความชื้นเชื้อเพลิง อัตราการป้อนเชื้อเพลิง อัตราการป้อนอากาศ FD fan ความดันเตาเผาไหม้ อุณหภูมิเตาเผาไหม้ และอุณหภูมิไอน้ำแรงดันสูง จากตัวแบบ stepwise quadratic regression สำหรับอัตราการผลิตไอน้ำแรงดันสูงและออกซิเจนส่วนเกินหลังการเผาไหม้ และตัวแบบ full quadratic regression สำหรับปริมาณ NOx และ อุณหภูมิก่อนออกปล่องไฟ Stack ซึ่งจะให้ ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจปรับค่าที่ดีที่สุดอยู่ที่ 95.60%, 90.60%, 47.21% และ 60.51% ตามลำดับ จากนั้นทำการหาค่าปัจจัยที่เหมาะสมที่สุดโดยใช้ฟังก์ชัน response optimizer พบว่าสามารถเพิ่มการผลิตไอน้ำแรงดันสูงได้จากค่าเฉลี่ยก่อนปรับปรุงที่ 91.941 t/h เพิ่มขึ้นเป็น 100.2877 t/h คิดเป็น 9.078% สามารถลดออกซิเจนส่วนเกินหลังการเผาไหม้ได้จากค่าเฉลี่ยก่อนปรับปรุงที่ 9.226% เป็น 7.7639% คิดเป็น 15.848% เพิ่มปริมาณ NOx ได้จากค่าเฉลี่ยก่อนปรับปรุงที่ 118.870 ppm เพิ่มขึ้นเป็น 163.7648 ppm คิดเป็น 37.768% และเพิ่มอุณหภูมิก่อนออกปล่องไฟ Stack ได้จากค่าเฉลี่ยก่อนปรับปรุงที่ 158.160 ºC เพิ่มขึ้นเป็น 171.3961 ºC คิดเป็น 8.369% จากสมการถดถอยนี้สามารถนำมาใช้พยากรณ์หาสภาวะที่เหมาะสมของความชื้นเชื้อเพลิงชีวมวล อัตราการป้อนเชื้อเพลิงและอัตราการป้อน FD fan ซึ่งใช้ข้อมูลจริงในอดีตของการเดินเครื่องของโรงไฟฟ้าชีวมวลกรณีศึกษา เพื่อนำไปใช้ในการเดินเครื่องของโรงไฟฟ้าชีวมวลกรณีศึกษาในอนาคต รวมถึงสามารถประยุกต์ใช้กับโรงไฟฟ้าชีวมวลในเครือเดียวกันได้ | en_US |
Appears in Collections: | 228 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6210121013.pdf | 118.09 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.