Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18196
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ คงสุวรรณ-
dc.contributor.authorรัตนาภรณ์ สังข์ทอง-
dc.date.accessioned2023-09-03T14:58:42Z-
dc.date.available2023-09-03T14:58:42Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18196-
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ), 2566en_US
dc.description.abstractThe purpose of this study was to describe the illness experience and care needs of individuals with advanced heart failure in the new normal era. A qualitative research methodology based on the concept of descriptive phenomenology was used. The participants were 12 patients who had been admitted to the cardiology intensive care units of a southern Thailand university hospital more than once in 6 months, from the years 2020 to 2022. Data were collected between April and August 2022. Semi-structured interviews and audio recording were used to collect the data. The data were analyzed according to the Colaizzi method.The findings revealed that illness experience of persons with advanced heart failure in the new normal era could be classified into four themes: 1. lonely illness; 2. illness that depends on the doctor’s decision; 3. illness with which are must be patient with the sufferings in order to be alive; and 4. illness with fluctuation of symptoms.The participants described their illness management in two ways: 1. living with encouragement; and 2. adjusting their own behaviors to alleviate symptoms by controlling water and food, adjusting medication, using alternatives, and urgently seeing a doctor. In addition, the data reflected the care needs of people with advanced heart failure in four themes: 1. need for convenience and fast access to hospital services; 2. need for monitoring and continuing care through a phone call or mobile application; 3. need for family support to live conventionally with the disease; and 4. need for recognition of the progression of the disease. The findings in this study provide understanding of the experiences of illness and needs of person with advanced heart failure in the new normal era. The findings can help physicians and nurses to assist and support people with advanced heart failure in meeting their needs and becoming more involved in their care plan.en_US
dc.description.sponsorship-en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectประสบการณ์ความเจ็บป่วยen_US
dc.subjectความต้องการการดูแลen_US
dc.subjectภาวะหัวใจล้มเหลวระยะก้าวหน้าen_US
dc.subjectยุควิถีใหม่en_US
dc.titleประสบการณ์ความเจ็บป่วยและความต้องการการดูแลของบุคคลที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวระยะก้าวหน้าในยุควิถีใหม่en_US
dc.title.alternativeIllness Experiences and Care Needs Among Persons with Advanced-Stage Heart Failure in the Era of New Normalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Adult and Elderly Nursing)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ-
dc.description.abstract-thการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายและอธิบายประสบการณ์ความเจ็บป่วย และความต้องการการดูแลของบุคคลที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวระยะก้าวหน้าในยุควิถีใหม่ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยาแบบบรรยาย ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ป่วยที่เคยมีประสบการณ์การรักษาที่หออภิบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคใต้ มากกว่า 1 ครั้งใน 6 เดือน ตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2563 ถึง พ.ศ. 2565 จำนวน 12 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนเมษายน ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2565 โดยการสัมภาษณ์รายบุคคลแบบกึ่งโครงสร้าง พร้อมทั้งบันทึกเทปเสียงการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลจากบทสัมภาษณ์ตามวิธีการของโคไลซี ผลการศึกษาพบว่า ผู้ให้ข้อมูลรับรู้เกี่ยวกับประสบการณ์ความเจ็บป่วยในภาวะหัวใจล้มเหลวระยะก้าวหน้าในยุควิถีใหม่ เป็น 4 ลักษณะ คือ 1. ความเจ็บป่วยที่โดดเดี่ยว 2. ความเจ็บป่วยที่มอบให้แพทย์ตัดสินใจ 3. ความเจ็บป่วยที่ต้องยอมทนกับความทรมานเพื่อให้มีชีวิตต่อ และ 4.ความเจ็บป่วยที่ต้องอยู่กับการขึ้นลงของอาการ ผู้ให้ข้อมูลมีการจัดการกับการเจ็บป่วยเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. อยู่อย่างมีกำลังใจ และ 2. ปรับพฤติกรรมตนเองเพื่อบรรเทาอาการ โดยมีการปรับน้ำและอาหาร การปรับยา การใช้ทางเลือก และการรีบไปพบแพทย์ นอกจากนี้พบว่าผู้ให้ข้อมูลมีความต้องการการดูแล 4 ลักษณะ คือ 1. ความสะดวกรวดเร็วในการเข้าถึงบริการของโรงพยาบาล 2. การติดตามและดูแลต่อเนื่องโดยใช้โทรศัพท์หรือโมบายแอพพลิเคชั่น 3. การดูแลช่วยเหลือจากครอบครัวเพื่อให้อยู่ได้ตามสภาวะของร่างกายและ 4. การรับรู้การพยากรณ์ของโรค ผลการศึกษาครั้งนี้ทำให้เข้าใจประสบการณ์ความเจ็บป่วย และความต้องการการดูแลของบุคคลที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวระยะก้าวหน้าในยุควิถีใหม่ และสามารถเป็นแนวทางให้แพทย์และพยาบาลในการช่วยเหลือและสนับสนุนบุคคลที่อยู่ในภาวะหัวใจล้มเหลวระยะก้าวหน้าให้ได้รับการดูแลตามที่ปรารถนาและมีส่วนร่วมในการวางแผนการดูแลมากขึ้นen_US
Appears in Collections:646 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310420056.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons