Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18168
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาหวัง ล่านุ้ย-
dc.contributor.authorมุหัมหมัด ล่าเม๊าะ-
dc.date.accessioned2023-05-16T07:17:15Z-
dc.date.available2023-05-16T07:17:15Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18168-
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการพัฒนาสังคม), 2564en_US
dc.description.abstractThis research is a qualitative research which aimed 1) to study the social, economic, educational and cultural contexts of the Rahmah Ban Podeang Mosque Community 2) to study the development of the administration of the Rahmah Mosque according to the religious, legal and supplementary roles from the past to the present 3) to develop a model suitable for the administration of Rahmah Mosque in accordance with Islamic principles under social challenges. The main informants were the Islamic Mosque Committee and 24 representatives of the community activities. The data were collected by in-depth interviews and group discussion, observation and the documents of the mosque. According to the study, it was found that the Rahmah was established in 1954. The Rahmah Mosque Community was peaceful and its community members were agriculturers. Some parts of their culture derived from the religion. There were several periods of the mosque administration. One major challenge was that the community members have a little religious knowledge and rarely prayed at the mosque. From the past to the present, the Islamic principles used in the administration were the principle of learning, the principle of doing good, the principle of responsibility, the principle of consultation, the principle of obedience to leaders, the principle of help, the principle of admonition and the principle of sacrifice .The format in the past selection process was recruiting from agents, open selection, secret selection, zoning and choosing an agent until developing into a new format, namely recruiting and selection with a committee consider the qualifications specified in the Islamic Organization Act B.E. 2540 and the unique properties of the community. Suggestions: There must be relevant agencies to educate the community about the selection of mosque committee. The mosque must provide administrative knowledge to the committee using its own budget. And the next research should be done on the evaluation of the administration of the Rahmah Ban Podeang Mosque committee and the management strategy of the Ramah Ban Podeang Mosque.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectมัสยิดเร๊าะหม๊ะ การบริหาร จะนะ (สงขลา)en_US
dc.subjectชุมชนมุสลิม จะนะ (สงขลา)en_US
dc.subjectการพัฒนาสังคม จะนะ (สงขลา)en_US
dc.subjectการพัฒนาชุมชน จะนะ (สงขลา)en_US
dc.titleการบริหารมัสยิดภายใต้ความท้าทายด้วยหลักการอิสลาม กรณีศึกษา มัสยิดเร๊าะหม๊ะ บ้านพ้อแดง หมู่ที่ 2 ตำบลคู อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeThe Challenge of the Moeque Management under the Islamic Principles: A Case Study of Rahmah Mosque, Podeng, Khu Sub-District, Chana District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Humanities and Social Sciences (Social Sciences)-
dc.contributor.departmentคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบททางสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม ของชุมชนมัสยิดเร๊าะหม๊ะ บ้านพ้อแดง 2) เพื่อศึกษาพัฒนาการการบริหารมัสยิดเร๊าะหม๊ะตามบทบาททางศาสนา กฎหมาย และบทบาทเสริมจากอดีตจนถึงปัจจุบัน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมกับการบริหารมัสยิดเร๊าะหม๊ะตามหลักการอิสลามภายใต้ความท้าทายทางสังคม มีผู้ให้ข้อมูลที่สาคัญ คือ คณะกรรมการอิสลามประจามัสยิด และตัวแทนกลุ่มกิจกรรมต่างๆ ในชุมชนทั้งหมด 24 คน การเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เจาะลึกรายบุคคล การสนทนากลุ่ม การสังเกต และจากเอกสารของมัสยิด จากการศึกษาพบว่า มัสยิดเร๊าะหม๊ะ ก่อตั้งเมื่อปีพ.ศ. 2497 เป็นชุมชนที่มีความสงบพึ่งพาอาศัยกัน อาชีพด้านการเกษตร วัฒนธรรมส่วนหนึ่งมาจากศาสนา การบริหารมัสยิดมีหลายช่วงเวลา มีความท้าทายที่สาคัญคือความรู้ทางศาสนาในชุนชนอยู่ในระดับต่า สัปปุรุษไม่ค่อยไปละหมาดที่มัสยิด ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบันใช้หลักการอิสลามในการบริหารคือ หลักการเรียนรู้ หลักการทาดี หลักการรับผิดชอบ หลักการปรึกษาหารือ หลักการเชื่อฟังผู้นา หลักการช่วยเหลือ หลักการตักเตือนและหลักการเสียสละ รูปแบบในการคัดเลือกกรรมการที่ผ่านมา คือ แบบสรรหา แบบเปิดเผย แบบลับ แบ่งเขตเลือกตัวแทน จนพัฒนาเป็นรูปแบบใหม่คือการรับสมัครและคัดเลือก โดยมีคณะกรรมการสรรหา พิจารณาตามคุณสมบัติที่กาหนดในพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 และคุณสมบัติเฉพาะของชุมชน ข้อเสนอแนะ ต้องมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชนเกี่ยวกับการคัดเลือกกรรมการมัสยิด มัสยิดต้องให้ความรู้ด้านการบริหารแก่คณะกรรมการโดยมัสยิดรับผิดชอบงบประมาณ และการวิจัยครั้งต่อไปควรจะทาวิจัยเกี่ยวกับการประเมินผลการบริหารงานของคณะกรรมการมัสยิดเร๊าะหม๊ะ บ้านพ้อแดง และ กลยุทธ์การบริหารมัสยิดเร๊าะหม๊ะ บ้านพ้อแดงen_US
Appears in Collections:427 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5920220623.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons