Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18145
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุใจ ส่วนไพโรจน์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-05-11T07:15:35Z | - |
dc.date.available | 2023-05-11T07:15:35Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18145 | - |
dc.description.abstract | This study was Experimental research using one group repeated measures design. The purpose of this research was to study the results of Psychological Training and Group Counseling with Contemplation and Islamic. Doctrine Principles for Enhancing Healthy Mind of Mustim Woman Caregivers in the Southern Border Provinces. The target group is Mustim Woman Family Caregivers of Special Education Center of Pattani Province, 30 people by purposive sampling. The sample was selected with a score of Healthy Mind set the criteria lower than Percentile 25th and voluntarily participated in the project. They participated in the Psychological Training and Group Counseling with Contemplation and Islamic Doctrine Principles is 6 times a week, 1 time per week, 5 hours each, a total of 30 hours. The research instruments composed 1) Program Psychological Training and Group Counseling with Contemplation and Islamnic Doctrine Principles for Enhancing Healthy Mind of Mustim Woman Family Caregivers 2) Healthy Mind were analyzed by descriptive statistics: percentage, mean, standard deviation and Paired - sample t-test The results revealed that Healthy Mind of Muslim Woman Family Caregivers in the Southern Border Provinces by using the Psychological Training and Group Counseling with Contemplation and Islamic Doctrine Principles after treatment scores better than before receiving treatment to increase the level with significantly at level of .01 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | สตรีมุสลิม | en_US |
dc.title | ผลของการฝึกอบรมเชิงจิตวิทยาและการเข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาด้วยกระบวนการจิตตปัญญาและหลักคำสอนอิสลามเพื่อเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตแก่ครอบครัวหญิงมุสลิมที่ดูแลเด็กพิเศษในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.title.alternative | Psychological Training and Group Counseling with Contemplation and Islamic Doctrine Principles for Enhancing Healthy Mind of Muslim Woman Family Caregivers in the Southern Boder Provinces | en_US |
dc.title.alternative | รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องผลของการฝึกอบรมเชิงจิตวิทยาและการเข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาด้วยกระบวนการจิตตปัญญาและหลักคำสอนอิสลามเพื่อเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตแก่ครอบครัวหญิงมุสลิมที่ดูแลเด็กพิเศษในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Education (Psychology and Counseling) | - |
dc.contributor.department | คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยทดลอง (Experimental Research) แบบศึกษากลุ่มเดียววัดช้ำก่อนทดลองและหลังทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลฝึกอบรมและการเข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาด้วยกระบวนการจิตตปัญญาและหลักคำสอนอิสลามในการเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตแก่ครอบครัวหญิงมุสลิมที่ดูแลเด็กพิเศษใน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุ่มเป้าหมายคือ ครอบครัวหญิงมุสลิมที่ดูแลเด็กพิเศษของศูนย์การศึกษาพิเศษ จังหวัดปัตตานี จำนวน ๓๐ คน เข้าร่วมเป็นกลุ่มทดลอง โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling โดยพิจารณาเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มีคะแนนพลังสุขภาพจิต กำหนดเกณฑ์คะแนนต่ำ กว่า Percentile ที่ ๒๕h และมีความสมัครใจในการเข้าร่วมโครงการ โดยเข้าร่วมโปรแกรมการฝึกอบรมเชิงจิตวิทยาและกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยา จำนวน ๖ ครั้ง สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง ครั้งละ ๕ ชั่วโมง รวมใช้เวลาทั้งสิ้น ๓๐ ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย โปรแกรมฝึกอบรมและการเข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาด้วยกระบวนการจิตปัญญาและหลักคำสอนอิสลามในการเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตแก่ครอบครัวหญิงมุสลิมที่ดูแลเด็กพิเศษ และแบบประเมินพลังสุขภาพจิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาแบบวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.) และทดสอบความแตกต่างของคะแนนก่อนการทดลองและหลังการทดลอง โดยใช้ t-test แบu Paired-sample t-test ผลการวิจัยพบว่า พลังสุขภาพจิตหลังทดลองของครอบครัวหญิงมุสลิมที่ต้องดูแลเด็กพิเศษในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ได้เข้าร่วมโปรแกรมการฝึกอบรมเชิงจิตวิทยาและกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาด้วยกระบวนการจิตตปัญญาและหลักคำสอนอิสลามคะแนนพลังสุขภาพจิตสูงกว่าคะแนนก่อนเข้าร่วมการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0๑ | en_US |
Appears in Collections: | 286 Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
454630-abstract.pdf | 1.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.