Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18135
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุฑามณี ตระกูลมุทุตา | - |
dc.contributor.author | จารุพัชร์ คุรุตาประภา | - |
dc.date.accessioned | 2023-05-02T04:09:26Z | - |
dc.date.available | 2023-05-02T04:09:26Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18135 | - |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to assess reactions, assess learning, assess behavior and evaluate the results from the civil servant orientation course training for government employees and local employees before starting to work in the southern border provinces by applying the Kirkpatrick model. The population used in the research was 398 people who attended the orientation course for civil servants, government employees, and local employees before starting work in the southern border provinces in the fiscal year 2021. The research tools were the satisfaction questionnaire, a learning evaluation form before and after the training, a questionnaire on the application of knowledge gained in work and coexistence in a multicultural society and a questionnaire on the benefits that the organization received after the training, the data were analyzed using percentage, mean and standard deviation and analyzing knowledge before and after training by comparing average scores. The study found that by assessing the reaction, participants were satisfied with the training results. Overall, it was at the highest level. Learning evaluation found that the participants had knowledge after training that increased significantly at the level of 0.05 for behavior assessment participants expressed their opinions on the application of knowledge to work and coexistence in a multicultural society. Overall, it was at the highest level and evaluating the results that occur in the organization saw that the participants, commander and colleagues or subordinates, there was a consensus that the training would benefit the organization and the organization's operations to drive problem-solving and development in the southern border provinces at the highest level. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การประเมินผล | en_US |
dc.subject | เคิร์กแพทริค | en_US |
dc.subject | ฝึกอบรม | en_US |
dc.subject | จังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.subject | Kirkpatrick | en_US |
dc.title | การประเมินผลโครงการฝึกอบรมหลักสูตรปฐมนิเทศข้าราชการ พนักงานราชการ และพนักงานส่วนท้องถิ่น ก่อนเริ่มปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.title.alternative | Training Evaluation of Civil Servants Orientation of Southern Border Provinces | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Public Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินปฏิกิริยา (Reaction Evaluation) ประเมินการเรียนรู้ (Learning Evaluation) ประเมินพฤติกรรม (Behavior Evaluation) และประเมินผลลัพธ์ (Results Evaluation) ของผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรปฐมนิเทศข้าราชการ พนักงานราชการ และพนักงานส่วนท้องถิ่น ก่อนเริ่มปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยการประยุกต์ใช้แบบจำลองเคิร์กแพทริค (Kirkpatrick) ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรปฐมนิเทศข้าราชการ พนักงานราชการ และพนักงานส่วนท้องถิ่น ก่อนเริ่มปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 398 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบประเมินการเรียนรู้ก่อนและหลังการฝึกอบรม แบบสอบถามความคิดเห็นในการนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานและการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และแบบสอบถามความคิดเห็นต่อประโยชน์ที่องค์กรได้รับภายหลังจากการฝึกอบรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความรู้ก่อนและหลังการฝึกอบรมด้วยการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า การประเมินปฏิกิริยาของผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด การประเมินการเรียนรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้หลังการฝึกอบรมที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สำหรับภายหลังการฝึกอบรม มีการประเมินพฤติกรรม พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความคิดเห็นต่อการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานและการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด และการประเมินผลลัพธ์ที่เกิดต่อองค์กร เห็นว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชา มีความคิดเห็นตรงกันว่า การฝึกอบรมก่อให้เกิดประโยชน์องค์กรและการดำเนินงานขององค์กรเพื่อขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ อยู่ในระดับมากที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | 465 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6210521506_จารพัชร์ คุรุตาประภา_การประเมินผลโครงการฝึกอบรมด้วย Kirkpatrick.pdf | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open | |
6210521506_บทความ Kirkpatrick.pdf | 235.52 kB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License