Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18120
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฆายนีย์ ช. บุญพันธ์ | - |
dc.contributor.author | รฐพล สุวรรณประสม | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-27T09:09:14Z | - |
dc.date.available | 2023-04-27T09:09:14Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18120 | - |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of the study were to determine (1) the success level of the OTOP Nawatwithi Tourism Community, Songkhla Province, (2) the level of strong community factors of the OTOP Nawatwithi Tourism Community, Songkhla Province, (3) the strong community factors affecting the success of the OTOP Nawatwithi Tourism Community, Songkhla Province, and (4) problems and obstacles to the OTOP Nawatwithi Tourism Community, Songkhla Province. The sample group was 165 people calculated using Taro Yamane’s formula. The research instrument was a questionnaire and the statistics used in data analysis were percentage, mean, frequency, standard deviation, and multiple linear regression analysis. The study found 1) the level of opinions on the success of the OTOP Nawatwithi Tourism Community was high, 2) the level of strong community factors of the OTOP Nawatwithi Tourism Community was high, 3) strong community factors in terms of local wisdom, people participation in the community, and public mindedness affected the success of the OTOP Nawatwithi Tourism Community, Songkhla Province and could explain the level of influence at 65.2 percent, and 4) important problems and obstacles to the OTOP Nawatwithi Tourism Community, Songkhla Province were support and promotion from the government sector did not meet the needs and context of the community, and lacked continuity. There was a lack of continuity in terms of the budget for activities and promotion, social and economic community, and landscapes of tourist attractions. The government sector also lacked care and maintenance for the development of natural resources and the environment in the community while the community did not have enough capacity to make natural landscapes such as waterfalls, mountains, and rivers ready for tourism. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ชุมชนเข้มแข็ง | en_US |
dc.subject | ความสำเร็จของชุมชน | en_US |
dc.subject | ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี | en_US |
dc.title | ปัจจัยชุมชนเข้มแข็งที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดการชุมชมท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีในจังหวัดสงขลา | en_US |
dc.title.alternative | Strong Community Factors Affecting Success in OTOP Tourism Community Innovative Community Management in Songkhla Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Public Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความสำเร็จของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีจังหวัดสงขลา 2) เพื่อศึกษาระดับปัจจัยชุมชนเข้มแข็งของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีจังหวัดสงขลา 3) เพื่อศึกษาปัจจัยชุมชนเข้มแข็งที่ส่งผลต่อความสำเร็จของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีจังหวัดสงขลา และ 4) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีจังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 165 คน โดยใช้สูตรสูตรของ ทาโร ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์พหุคูณถดถอยเชิงเส้น ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความสำเร็จของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี อยู่ในระดับมาก 2) ระดับปัจจัยชุมชนเข้มแข็งของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี อยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยชุมชนเข้มแข็งด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน และด้านการมีจิตสาธารณะ ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดการชุมชนท่องเที่ยวท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีในจังหวัดสงขลา โดยสามารถอธิบายระดับการมีอิทธิพล ได้ร้อยละ 65.2 4) ปัญหาและอุปสรรคของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีชุมชนในจังหวัดสงขลา ที่สำคัญ คือ การส่งเสริมสนับสนุนจากภาครัฐไม่ตรงกับความต้องการและบริบทชุมชน ขาดความต่อเนื่อง ทั้งด้านงบประมาณการดำเนินกิจกรรมและการส่งเสริมด้านสังคม เศรษฐกิจชุมชน และภูมิทัศน์แหล่งท่องเที่ยว อีกทั้งภาครัฐขาดความเอาใจใส่ดูแลบำรุง ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน ที่เกินกำลังของชุมชนให้มีความพร้อม เช่น น้ำตก ภูเขา แม่น้ำ เป็นต้น | en_US |
Appears in Collections: | 465 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6410521532.pdf | 232.27 kB | Adobe PDF | View/Open | |
6410521532.pdf | 1.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License