Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18116
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกลางใจ แสงวิจิตร-
dc.contributor.authorญาณิกา ตระกูลกำจาย-
dc.date.accessioned2023-04-27T08:31:10Z-
dc.date.available2023-04-27T08:31:10Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18116-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2566en_US
dc.description.abstractThe research on factors influencing the sufficiency of money in retirement for state enterprise official’s provincial electricity authority, region 3 (southern region), Yala province was purposed to study factors influencing the sufficiency of retirement money of PEA officials and retirement savings behavior. The data was obtained from collecting data from 323 officials of the Provincial Electricity Authority, Region 3 (Southern Region), Yala Province, analyzing by T-test, one-way ANOVA, and multiple regression. The results of the study showed that the sample group had the frequency of saving once or two times a month. The amount of savings per month was approximately 3,000 - 5,000 baht or more, and the period for saving was more than 5 years. Each target group chose savings in the form of provident funds. The average monthly savings ratio was 15-20% of income, and the main objective was for retirement. In terms of personal factors, it was found that gender, age, status, education level, average monthly income, and number of family members had different levels of retirement fund adequacy for PEA employees. There were different perception factors about saving in terms of saving attitude, rate of return, investment risk tolerance, and personal financial planning. Factors influencing the adequacy of retirement money were economic factors, including inflation, interest rates, and socio-economic factors. In addition, saving perception factors such as rate of return and financial skills influenced the sufficiency of retirement money of PEA employees, statistically significant at the 0.05 level. However, the results from the research can be used as basic information for training and knowledge about financial planning in order to be able to apply it in everyday life more efficiently. There should be a policy for employees to participate in financial skill surveys every year to know the development of the level of financial skills. The mentioned information is used to formulate a developmental policy to promote financial skills develop developmental policies to promote financial skills.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectThe Sufficiency of Money in Retirementen_US
dc.subjectความเพียงพอของเงินวัยเกษียณen_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเพียงพอของเงินวัยเกษียณของพนักงานรัฐวิสาหกิจ กรณีศึกษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 (ภาคใต้) จังหวัดยะลาen_US
dc.title.alternativeFactors influencing the adequacy of Retirement Funds of state enterprise employees case study of Provincial Electricity Authority Area 3 (South) Yala Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเพียงพอของเงินวัยเกษียณของพนักงานรัฐวิสาหกิจ กรณีศึกษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 (ภาคใต้) จังหวัดยะลา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเพียงพอของเงินวัยเกษียณของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และพฤติกรรมการออมสำหรับการเกษียณอายุ ข้อมูลที่ศึกษาได้มาจากการเก็บข้อมูลจากพนักงาน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 (ภาคใต้) จังหวัดยะลา จำนวน 323 คน และใช้ T (T-test) เป็นการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression) ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการออม โดยมีความถี่ในการออม 1-2 ครั้งต่อเดือน จำนวนเงินออมต่อเดือนอยู่ที่ 3,000 - 5,000 บาทขึ้นไป ระยะเวลาในการออมมากกว่า 5 ปี เลือกการออมในรูปแบบของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มีสัดส่วนการออมโดยเฉลี่ยต่อเดือน 15-20% ของรายได้ และมีวัตถุประสงค์หลักในการออมเงินเพื่อการเกษียณ ในส่วนของปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และจำนวนสมาชิกในครอบครัวที่แตกต่างกัน มีความเพียงพอของเงินวัยเกษียณของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแตกต่างกัน รวมถึงความเพียงพอของเงินวัยเกษียณที่แตกต่างกัน มีปัจจัยด้านการรับรู้เกี่ยวกับการออมในด้านทัศนคติการออม อัตราผลตอบแทน การยอมรับความเสี่ยงในการลงทุน และการวางแผนการเงินส่วนบุคคลแตกต่างกัน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเพียงพอของเงินวัยเกษียณ คือ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ด้านอัตรา เงินเฟ้อ ด้านอัตราดอกเบี้ย และด้านเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้ปัจจัยด้านการรับรู้เกี่ยวกับ การออม ได้แก่ ด้านอัตราผลตอบแทน และด้านทักษะทางการเงินมีอิทธิพลต่อความเพียงพอของเงินวัยเกษียณของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้สามารถ นำผลที่ได้จากงานวิจัยมาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดอบรม และให้ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และควร มีนโยบายให้พนักงานเข้าร่วมการสำรวจทักษะทางการเงินเป็นประจำทุกปี เพื่อให้ทราบถึงพัฒนาการของระดับทักษะทางการเงิน โดยนำข้อมูลดังกล่าวมาประกอบการจัดทำนโยบายเชิงพัฒนาเพื่อส่งเสริมทักษะทางการเงินen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6410521017.pdfไฟล์งานวิจัย1.52 MBAdobe PDFView/Open
6410521017.pdfบทความ377.78 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons