Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18063
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวุฒิชัย เนียมเทศ-
dc.contributor.authorอัษฎาวุธ สุวัตถี-
dc.date.accessioned2023-04-21T04:16:21Z-
dc.date.available2023-04-21T04:16:21Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18063-
dc.descriptionศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา), 2565en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were to 1) determine the factors and indicators for school administration based on sufficiency economy philosophy of primary schools in three southern border provinces 2) study needs assessment to analyze strengths, weakness, opportunity and threat for school administration based on sufficiency economy philosophy of primary schools in three southern border provinces and 3) present strategies for school administration based on sufficiency economy philosophy of primary schools in three southern border provinces. The study was mixed method research. The qualitative method was collected by 10 professionals by focus group discussion, 9 professionals by interview and 12 experts by meeting. The quantitative method was collected by a 5-rating scale questionnaire from 179 primary schools, and analyzed the data by PNIModified. The findings were as follows : 1. The factors and indicators for school administration based on sufficiency economy philosophy of primary school in three southern border provinces consisted of five factors and sixty eight indicators : 1) policy administration factor based on sufficiency economy philosophy consisted of six indicators 2) academic administration factor based on sufficiency economy philosophy consisted of twenty eight indicators 3) financial administration factor based on sufficiency economy philosophy consisted of four indicators 4) personnel administration factor based on sufficiency economy philosophy consisted of fourteen indicators 5) general administration factor based on sufficiency economy philosophy consisted of sixteen indicators. 2. Needs assessment for school administration based on sufficiency economy philosophy for primary schools in three southern border provinces which need to improve consisted of 3 factors: 1) academic administration based on sufficiency economy philosophy 2) personnel administration based on sufficiency economy philosophy and 3) general administration based on sufficiency economy philosophy. 3. The strategies for school administration based on sufficiency economy philosophy of primary school in three southern border provinces consisted of nine main strategies : 1) improving the efficiency of teaching management 2) raising the level of supervision of learning management 3) developing an effective learning process 4) developing and promoting the learning resources 5) optimizing the measurement and evaluation of learning management 6) enhancing guidance activities 7) optimizing performance Appraisal 8) promoting, supporting and coordinating education management with individuals, communities, organizations, agencies and others and 9) promoting the effectiveness of student activitiesen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาen_US
dc.subjectหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงen_US
dc.subjectสามจังหวัดชายแดนภาคใต้en_US
dc.subjectการบริหารโรงเรียนประถมศึกษา ไทย (ภาคใต้)en_US
dc.titleกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้en_US
dc.title.alternativeStrategies for School Administration Based on Sufficiency Economy Philosophy of Primary Schools in Three Southern Border Provincesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Educational Administration)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาบริหารการศึกษา-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) กำหนดองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นเพื่อวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคามของ การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 3) นำเสนอกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กระบวนการวิจัยแบบผสมผสาน เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 10 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ด้วยแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) จากโรงเรียนประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 179 โรงเรียน โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธี PNIModified สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และประชุมผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 12 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 68 ตัวบ่งชี้ คือ 1) การบริหารงานนโยบายตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 6 ตัวบ่งชี้ 2) การบริหารงานวิชาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 28 ตัวบ่งชี้ 3) การบริหารงานงบประมาณตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 4 ตัวบ่งชี้ 4) การบริหารงานบุคคลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 14 ตัวบ่งชี้ และ 5) การบริหารงานทั่วไปตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 16 ตัวบ่งชี้ 2. ความต้องการจำเป็นของการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่จำเป็นต้องพัฒนามี 3 ด้าน คือ 1) ด้านการบริหารงานวิชาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) ด้านการบริหารงานบุคคลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 3) ด้านการบริหารงานทั่วไปตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย 9 กลยุทธ์ คือ 1) การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา 2) การยกระดับการนิเทศการจัดการเรียนรู้ 3) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ 4) การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ 5) การเพิ่มประสิทธิภาพการวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ 6) การเสริมสร้างกิจกรรม การแนะแนว 7) การเพิ่มประสิทธิภาพการประเมินผลการปฏิบัติงาน 8) การส่งเสริม สนับสนุนและประสานการจัดการศึกษากับบุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงานและสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษา และ 9) การส่งเสริมงานกิจกรรมนักเรียนให้มีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:260 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5820130003.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons