Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18054
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมัฮดี แวดราแม-
dc.contributor.authorซัมซูดิน มามะ-
dc.date.accessioned2023-04-21T03:39:48Z-
dc.date.available2023-04-21T03:39:48Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18054-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การวิจัยและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564en_US
dc.description.abstractABSTRACT The purposes of this research were 1) to development of Teacher competency test in learning management based on teaching professional standards for professional teacher students 2) to verify the quality of teacher competency test in learning management based on teaching professional standards for professional teacher student. The sample were 400 professional teacher students, 5th year, academic year 2020. selected by multi-stage random sampling, step 1: stratified random sampling, step 2: simple random sampling. The data was analyzed by using the confirmatory factor analysis and exam parameters, such as discriminant power (α), difficulty (β), and the information of the test with Grade Response Model. The findings were: 1. The teacher competency test in learning management based on teaching professional standards for professional teacher students composed three capacity with has 50 items from a total of 51 items including 1) course 2) teaching and 3) technology in learning management. The content validity of the scale ranges from 0.60 to 1.00, t-test was used to analyze the discrimination. The reliability was 0.927 2. The quality measurement scale the first is to check the construct validity, using by confirmatory factor analysis, found that teacher competency test in learning management which were consistent of the empirical data when examining the quality of the measurement based on the Polytomous IRT. The slope parameter (α) is between 0.08 - 1.58 and the difficulty value the threshold value of each item (β) is the lowest order value, and reliability is 0.791 for measurement information function values can analyze questions well in the range θ between -2.0 and +1.0en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectcompetency testen_US
dc.subjectแบบวัดสมรรถนะครูen_US
dc.subjectteaching professional standardsen_US
dc.subjectมาตรฐานวิชาชีพครูen_US
dc.subjectpolytomous scored itemen_US
dc.subjectการตรวจการให้คะแนนแบบพหุวิภาคen_US
dc.subjectนักศึกษาครู จรรยาบรรณen_US
dc.subjectครูฝึกสอน จรรยาบรรณen_US
dc.titleการพัฒนาแบบวัดสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ของนักศึกษาวิชาชีพครูen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Teacher competency test in learning management based on teaching professional standards for Professional Teacher Studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Learning, Teaching, and Curriculum program)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการเรียนรู้ การสอน และหลักสูตร-
dc.description.abstract-thบทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างแบบวัดสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ ตามมาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษาวิชาชีพครู 2) หาคุณภาพของแบบวัดสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษาวิชาชีพครู ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือนักศึกษาวิชาชีพครู ชั้นปีที่ 5 จำนวน 400 คน ผู้วิจัยทำการสุ่มตัวอย่าง โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น มีมหาวิทยาลัยเป็นชั้น ขั้นตอนที่ 2 ใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบวัดสมรรถนะวิชาชีพครูด้านการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษาวิชาชีพครู วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และตรวจสอบพารามิเตอร์ของแบบวัด ได้แก่ อำนาจจำแนก (α) ความยาก (β) และสารสนเทศของแบบวัดด้วย Grade response model ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบวัดสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษา วิชาชีพครู มีข้อคำถาม จำนวน 50 ข้อ จากทั้งสิ้น 51 ข้อ จำแนกเป็น 3 สมรรถนะ คือ 1) หลักสูตร 2) ศาสตร์การสอน และ3) เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ทุกข้อมีค่าเท่ากับ 0.60 – 1.00 วิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกด้วยวิธีการทดสอบค่าที t-test ได้ข้อคำถามที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกจำนวน 50 ข้อ ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.927 2. คุณภาพของแบบวัดสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษาวิชาชีพครู โดยตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างด้วยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า มีความเหมาะสมสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยค่าดัชนีความสอดคล้องกลมกลืน และเมื่อทำการตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดตามทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบพหุวิภาค ค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (α) อยู่ระหว่าง 0.08 ถึง 1.58 ส่วนค่าความยาก (β) ของแต่ละรายการคำตอบ มีค่าเรียงลำดับจากน้อยไปมากทุกข้อ และค่าสารสนเทศของแบบวัดมีความเที่ยงเท่ากับ 0.791 สำหรับค่าฟังก์ชั่นสารสนเทศของแบบวัด สามารถวิเคราะห์ข้อคำถามได้ดีในช่วง θ ระหว่าง -2.0 ถึง +1.0 หรืออาจกล่าวได้ว่า แบบวัดสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ สามารถนำไปใช้กับนักศึกษาวิชาชีพครู ที่มีสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ ในระดับต่ำถึงปานกลางen_US
Appears in Collections:270 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6320120251.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons