Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18053
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ฉัตรไชย รัตนไชย | - |
dc.contributor.author | พนาลี ชีวกิดาการ | - |
dc.contributor.author | พรทิพย์ ศรีแดง | - |
dc.contributor.author | สุขประโชค เอื้อกฤดาธิการ | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-21T03:32:57Z | - |
dc.date.available | 2023-04-21T03:32:57Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18053 | - |
dc.identifier.uri | https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/207404 | - |
dc.description.abstract | The main objective of this study was to compare the measuring capacities of BOD/COD online analyzer with the standard methods used in laboratory. Meanwhile, to the measuring Spectrophotometry Analyzer and standard methods used in laboratory with the parameters analyzed in this study were BOD5, COD NO3-N and Suspended Solids (SS). The results showed that the online analyzer could not measure synthetic wastewaters which were not aerated, the error measuring of BOD5, and COD were over the acceptable ranges. The synthetic aerated wastewaters, concentrated between 0-100 0-200 and 0-100 mg/, gave error of 6.35 2.33 and 11.69 %, for BOD5 COD and SS, respectively. The Ministry of Industry Notice (2002) Issued Pursuant to Content Values of difference of BOD and COD not more than +15%. The results also showed that the reliable of measuring domestic wastewaters, effluent from palm oil industry and effluent from seafood industry were acceptabie. Ultraviolet absorbance could be used to estimate many parancters with different reliabities. Absorbance of 260 nm and 500 550 could be used for measuring COD and SS. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | อุปกรณ์ตรวจจับแสง | en_US |
dc.subject | สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ | en_US |
dc.subject | สเปกโทรสโคป | en_US |
dc.title | ประสิทธิภาพการทำงานของระบบติดตามตรวจสอบแบบออนไลน์ในโรงบำบัดน้ำเสียของโรงงานอุตสาหกรรม | en_US |
dc.title.alternative | Performance of on-line monitoring in industrial wastewater treatment plants | en_US |
dc.title.alternative | รายงานโครงการวิจัยประสิทธิภาพการทำงานของระบบติดตามตรวจสอบแบบออนไลน์ในโรงบำบัดน้ำเสียของโรงงานอุตสาหกรรม | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Engineering Civil Engineering | - |
dc.contributor.department | คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา | - |
dc.contributor.department | Faculty of Environmental Management (Environmental Management) | - |
dc.contributor.department | คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม | - |
dc.description.abstract-th | วัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องตรวจวัดค่าบีโอดีและหรือค่าซีโอดีแบบออนไลน์ซึ่งอาศัยหลักการการดูดกลืนคลื่นแสงอัลตราไวโอเลตนำมาเปรียบเทียบกับการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการด้วยวิธีมาตรฐาน และการตรวจวัดด้วยเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์นำมาเปรียบเทียบกับการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการด้วยวิธีมาตรฐาน โดยทำการวิเคราะห์ค่าของบีโอดี ซีโอดี ไนเตรท และปริมาณสารแขวนลอย ผลการศึกษาพบว่า ในการตรวจวัดน้ำเสียสังเคราะห์ที่ไม่ผ่านการเติมอากาศ นำมาตรวจวัดด้วยเครื่องตรวจวัดต่ำบีโอดีและหรือค่าชีโอดีแบบออนไลน์เมื่อเทียบกับผลจากการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการแล้วมีค่าความคลาดเคลื่อนของบีโอดี และซีโอดีสูงมาก และไม่สามารถยอมรับได้ ซึ่งแตกต่างจากการตรวจวัดน้ำเสียสังเคราะห์ที่ผ่านการเติมอากาศที่มีความเข้มข้นของบีโอดี ซึโอดี และปริมาณสารแขวนลอยช่วงระหว่าง 0-100 0-200 และ 0-100 มก./ล. มีค่าความคลาดเคลื่อน ของบีโอดีและซีโอดี และปริมาณสารแขวนลอยเฉลี่ย 6.35 2.33 และ 11.69 % ตามลำดับ ซึ่งเป็นไปตามที่ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมกำหนด (ค่าความแตกต่างไม่เกิน 土15%)สำหรับการทดลองโดยการเปรียบเทียบระหว่างการตรวจวัดด้วยเครื่องตรวจวัดค่าบีโอดีและหรือค่าซีโอดีแบบออนไลน์กับการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการด้วยวิธีมาตรฐานของน้ำทิ้งชุมชน น้ำทิ้งจากโรงงานน้ำมันปาล์มและน้ำทิ้งจากโรงงานอาหารทะเล พบว่า เมื่อเปรียบเทียบการตรวจวัดด้วยเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์กับผลจากห้องปฏิบัติการด้วยวิธีมาตรฐาน โดยแสดงความสัมพันธ์ในรูปของสมการเชิงเส้นซึ่งมีค่า R2 ให้ความน่าเชื่อถือได้แดกต่างกัน แสดงให้เห็นว่าการใช้หลักการของการดูดกลืนคลื่นแสงอัลตราไวโอเลตสามารถใช้ในการตรวจวัดพารามิเตอร์บางชนิดได้แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของน้ำทิ้งแต่ละประเภทเท่านั้น จากการทดลองพบว่าการดูดกลืนคลื่นแสงที่ความยาวคลื่น 260 นาโนเมตรและ 500 550 นาโนเมตร มีความสามารถในการประเมินค่าซีโอดีและปริมาณสารแขวนลอยได้ดี | en_US |
Appears in Collections: | 220 Research 820 Research |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.