Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18046
Title: การใช้กากตะกอนส่วนเกินจากระบบบำบัดน้ำเสียแบบแอกติเวเต็ดสลัดจ์ และกากขี้แป้งของโรงงานน้ำยางข้นมาทำเป็นปุ๋ยหมักอัดเม็ด
Other Titles: Recycling of centrifugal residues and excess sludge from concentrated latex factory as granular composted material
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยการใช้กากตะกอนส่วนเกินจากระบบบำบัดน้ำเสียแบบแอกติเวเต็ดสลัดจ์ และกากขี้แป้งของโรงงานน้ำยางข้นมาทำเป็นปุ๋ยหมักอัดเม็ด
Authors: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม
Faculty of Environmental Management (Environmental Management)
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม
Keywords: ปุ๋ยหมัก;โรงงานน้ำยางข้น;กากตะกอนน้ำเสีย
Issue Date: 2554
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: This research study is about using industrial waste from latex rubber industry in southern Thailand for producing pellet organic fertilizer. Industrial wastes applied in this study are sludge from wastewater treatment plant and rubber latex lutoid. In the primary stage, the fertilizer gave C/N ration was very low, high moisture content and fine material, which affected to the slow mechanisam. But after 45 days, the product could reach the Thai organic fertilizer standard according to chemical parameters; N, P, K and heavy metal. However, it was found out that the organic fertilizer from those industrial wastes contained high concentration of Zn, between 0.40 - 5.23 percent by dry weight. Meanwhile, the remaining Zn in the marigold, after 35 days applying as fertilizer to plant 1.5 months old marigold.
Abstract(Thai): การศึกษาวิจัยนี้ เป็นการศึกษาการนำกากของเสียจากอุตสาหกรรมน้ำยางข้นในพื้นที่ภาคใต้มาใช้ประโยชน์เพื่อหมักทำปุ๋ยหมักอัดเม็ด โดยกากของเสียจากอุตสาหกรรมยางที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ กากขี้แป้งและกากตะกอนส่วนเกินจากระบบบำบัดน้ำเสียแบบแอกติเวเต็ดสลัดจ์ โดยในระขะเริ่มต้น จะพบปัญหา คือจะได้วัสดุหมักเริ่มต้นที่ให้ค่า CN ที่ต่ำ มีค่ความชื่นสูง และมีลักษณะของกากที่ละเอียด ซึ่งมีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาการหมักที่ค่อนข้างช้า แต่สำหรับลักษณะทาง กายภาพ เคมี และชีวภาพของปุ๊ยหมักที่ได้จากการใช้กากขี้แป้ง กากตะกอนน้ำเสียจากโรงงานน้ำยางข้น และขุยมะพร้าว หลังจาก 45 วัน พบว่า ทุกชุดการทดลองของการทดลองหมักปุ้ย มีค่า N, P, K และโลหะหนัก ผ่านมาตรฐานที่กำหนดโดยมาตรฐานป้ยหมักหรือปุ้ยอินทรีย์ของไทยอย่างไรก็ตามพบว่า ปุ้ยหมักที่ได้ยังมีค่า 21 ที่ก่อนข้างสูงโดยมีค่าระหว่าง 0.40-5.23 % น้ำหนักแห้ง และพบผลการตกค้างของ 21 ในต้นดาวเรืองที่อายุ 1.5 เดือน เมื่อนำปุ๊ยหมักไปปลูก ต้นดาวเรือง เป็นเวลา 35 วัน
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18046
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/247210
Appears in Collections:820 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.