Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18009
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNareeya Weerakit-
dc.contributor.authorEason, Daniel-
dc.date.accessioned2023-04-19T08:48:37Z-
dc.date.available2023-04-19T08:48:37Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18009-
dc.descriptionThesis (M.B.A., Hospitality and Tourism Management)--Prince of Songkla University, 2022en_US
dc.description.abstractEmployee emotions and feelings are often overlooked in the hotel industry, this could not be more true since the beginning of the COVID-19 crisis. This is mainly due to the hotel having to make drastic cutbacks in order to survive owing to the massive decline of guests due to the closing of the international borders. This has had a huge impact on employees working from within the hotel industry. The purpose of this study is to examine the relationship between work-family conflict and work-family facilitation in how it can contribute to employee burnout. A quantitative approach was taken by distributing questionnaires to hotel employees working in the heavily touristm-dependent island of Phuket, Thailand. 19 hotels with a 4-5 star rating took part in the research, with 420 valid responses being collected which were then analysed by using SPSS. The results showed that both work-family conflict and employee burnout has increased drastically, whilst work-family facilitation has decreased among hotel employees during the COVID-19 crisis. The results also indicate different demographic and job characteristics that have been found to play a part in the work-family conflict of hotel employees along with significantly high burnout. Finally, the results indicated from a multiple regression model that work-family conflict and work-family facilitation both play important influencing factors in contributing to employee burnout. Hotels need to focus on human resource strategies such as employee welfare and work-family facilitation programs should be implemented to minimise work-family conflict as to avoid employees burning out.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectHotels Employees Thailand Phuketen_US
dc.subjectCOVID-19 crisisen_US
dc.subjectWork-Family Facilitationen_US
dc.subjectWork-Family Conflicten_US
dc.subjectBurnouten_US
dc.subjectEmotional exhaustionen_US
dc.subjectFatigue in the workplaceen_US
dc.subjectWork environmenten_US
dc.titleWork-family conflict and work-family facilitation relating employee burnout during COVID-19 in Thai hotel industryen_US
dc.title.alternativeความขัดแย้งระหว่างงาน-ครอบครัว และการอำนวยความสะดวกในการทำงานครอบครัว ที่เกี่ยวข้องกับภาวะหมดไฟในการทำงานของพนักงานในช่วง COVID-19 ในอุตสาหกรรมโรงแรมของไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Hospitality and Tourism (Hospitality and Tourism Management)-
dc.contributor.departmentคณะการบริการและการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยว-
dc.description.abstract-thอารมณ์และความรู้สึกของพนักงานในอุตสาหกรรมการโรงแรมมักจะถูกมองข้ามเสมอ โดยเฉพาะในช่วงเริ่มต้นของวิกฤตโควิด-19 สาเหตุหลักมาจากการที่โรงแรมจำเป็นต้องตัดลดค่าใช้จ่ายอย่างหนักเพื่อให้สามารถอยู่รอดได้ เนื่องจากจำนวนแขกที่ลดลงอย่างมาก อันมีสาเหตุมาจากการปิดพรมแดนระหว่างประเทศ นโยบายดังกล่าวส่งผลกระทบอย่างมากต่อพนักงานที่ทำงานในอุตสาหกรรมโรงแรม วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความขัดแย้งระหว่างงานกับครอบครัวและการส่งเสริมกันระหว่างงานและครอบครัวว่ามีผลต่อการเกิดความเหนื่อยหน่ายของพนักงานอย่างไร ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากพนักงานโรงแรมที่ทำงานในเกาะภูเก็ต ประเทศไทย ซี่งเป็นจังหวัดมีรายได้จากการท่องเที่ยวเป็นหลัก โดยได้รับความร่วมมือจากโรงแรม 4-5 ดาวจำนวน 19 แห่งให้ความอนุเคราะห์ในการเก็บข้อมูล ได้แบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์จำนวน 420 ชุด จากนั้นจึงทำการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม SPSS ผลการศึกษา พบว่า พนักงานโรงแรมมีความขัดแย้งระหว่างงานกับครอบครัวและเกิดความเหนื่อยหน่ายเพิ่มขึ้นอย่างมาก ในขณะที่การส่งเสริมกันระหว่างงานและครอบครัวลดลงในช่วงวิกฤตโควิด-19 ผลการศึกษายังชี้ว่า ลักษณะทางประชากรและลักษณะงานที่แตกต่างกันมีผลต่อระดับความขัดแย้งระหว่างงานและครอบครัว รวมถึงความเหนื่อยหน่ายของพนักงานโรงแรม นอกจากนี้ จากการวิเคราะห์แบบจำลองการถดถอยพหุคูณ พบว่า ความขัดแย้งระหว่างงานกับครอบครัวและการส่งเสริมกันระหว่างงานและครอบครัว เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเหนื่อยหน่ายของพนักงาน ดังนั้น ผู้ประกอบการโรงแรมจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการใช้กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เช่น การดูแลสวัสดิการของพนักงาน โปรแกรมการส่งเสริมกันระหว่างงานและครอบครัว เพื่อลดความขัดแย้งระหว่างงานและครอบครัว ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความเหนื่อยหน่ายของพนักงาน โดยเฉพาะในช่วงวิกฤตโควิดen_US
Appears in Collections:816 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6330121005.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons