Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18004
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฑามณี ตระกูลมุทุตา-
dc.contributor.authorธนาทิพย์ ขวัญทอง-
dc.date.accessioned2023-04-19T08:37:04Z-
dc.date.available2023-04-19T08:37:04Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18004-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566en_US
dc.description.abstractThe objectives of this study on the motivation affecting the performance efficiency of employees in Songkhla Provincial Administrative Organization were 1) to study the level of efficiency of the performance of Songkhla Provincial Administrative Organization employees; 2) to comparatively study each employee motivation within Songkhla Provincial Administrative Organization on the efficiency of the performance; and 3) to study motivation affecting the performance efficiency of Songkhla Provincial Administrative Organization employees.The study was done by surveying questionnaires to 300 Songkhla Provincial Administrative Organization employees. Thereafter, the data was statistically analyzed using frequency distribution, percentage, average, standard deviation, and inferential statistics (including one-way analysis of variance, correlation coefficient, and multiple linear regression). The study showed that the overall performance efficiency level of Songkhla Provincial Administrative Organization employees was high. The average scores were in the following order: timeframe received the highest average score, followed by quantity and quality, while worthiness received the lowest average score. The comparative study of each employee's motivation within Songkhla Provincial Administrative Organization on performance efficiency showed no significant difference in the level of efficiency of the performance between different sexes, ages, statuses, education levels, durations of work, and categories of each employee. In addition, the motivation affecting the performance efficiency of Songkhla Provincial Administrative Organization had a significant statistic level of 0.01, with the level of influence at 75.90 percent.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectแรงจูงใจ, ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน, บุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาen_US
dc.titleแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeMotivation Affecting the Performance Efficiency of Employee in Songkhla Provincial Administrative Organizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thการศึกษา เรื่อง แรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา 2) ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและ 3) ศึกษาแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา จำนวน 300 คน โดยเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม เมื่อได้ข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านระยะเวลา รองลงมา คือ ด้านปริมาณงาน ด้านคุณภาพของงาน และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านความคุ้มค่า ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า บุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาที่มีเพศ สถานภาพ ระดับการศึกษา ระยะเวลาปฏิบัติงาน และประเภทบุคลากรต่างกันมีระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน นอกจากนี้ยังพบว่า แรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยสามารถอธิบายระดับการมีอิทธิพลได้ร้อยละ 75.90en_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6410521518.pdf577.79 kBAdobe PDFView/Open
6410521518.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons