Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18002
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Salang Musikasuwan | - |
dc.contributor.author | Khodeeyoh Kasoh | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-19T08:19:48Z | - |
dc.date.available | 2023-04-19T08:19:48Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18002 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc., Research Methodology)--Prince of Songkla University, 2022 | en_US |
dc.description.abstract | This purpose of this research was to examine the seasonal patterns and trends of Land Surface Temperature (LST) and to investigate the predictive models and (term lag and Normalized Difference Vegetation Index (NDVI) that related to LST variability in the upper north of Bogota, Columbia from 2001-2020. The observation data used in this study were obtained from the National Aeronautics and Space Administration (NASA) website as Moderate Resolution Imaging Spectroradiometer (MODIS) LST Data, which was collected every 8 days from January 1, 2001 to December 27, 2020 (a total of 920 data observations) from 9 regions. In this study, cubic spline was used for seasonal patterns analysis and simple linear regression was used for analyzing the trend of the average temperature change for 20 years. The results showed that the average temperature in the upper north of Bogota has been slightly decreasing, at around 0.021 degrees Celsius every year. The data has been divided into 70%-30% proportions for training and testing data sets, respectively. Multiple Linear Regression (MLR) methods and Random Forest (RF) were utilized as the prediction models and factors correlated to LST variability. Root mean square error (RMSE) and R-square were used to compare the predicting performance among constructed models. The results showed that the most important variable in all regions is NDVI. The RF model gained the smallest RMSE from testing both training and testing data sets. The R- square values of MLR model were between 23.68 % to 45.65 % while those of RF model were between 29.90% to 53.29%. However, it cannot be guaranteed that the same performance for each model will be the same for other study areas | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Prince of Songkla University | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Soil temperature Colombia Bogota | en_US |
dc.subject | Temperature Seasonal variations Colombia Bogota | en_US |
dc.subject | Analysis of covariance | en_US |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิพื้นผิวดินทางตอนเหนือของโบโกตา ประเทศโคลอมเบีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001-2020 | en_US |
dc.title.alternative | Land Surface Temperature Change in the Upper North of Bogota, Colombia from 2001 to 2020 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Science and Technology (Mathematics and Computer Science) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบรูปแบบและแนวโ้นมตามฤดูกาลของ อุณหภูมิพื้นผิวดิน (LST) และเพื่อศึกษาตัวแบบการทํานายและปัจจัยที่เกี่ยวของกับความแปรปรวน ของอุณหภูมิพื้นผิวดินในทางตอนเหนือของโบโกตา ประเทศโคลัมเบีย ตั้งแต่ปี 2544-2563 ข้อมูลที่ ใชในการศึกษานี้คือข้อมูล MODIS LST จากเว็บไซตของ NASA ซึ่งจัดเก็บเฉลี่ยทุก 8 วัน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2544 ถึงวันที่ 27 ธันวาคม 2563 (ขอมูลทั้งหมด 920 คาสังเกต) จํานวน 9 ภูมิภาค ใน การศึกษานี้ใชฟงกชันเสมือนพหุนามกําลังสาม (Cubic splines functions) สําหรับการวิเคราะห รูปแบบตามฤดูกาลและการถดถอยเชิงเสนอยางงาย (SLR) เพื่อวิเคราะหแนวโนมการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิเฉลี่ยเปนเวลา 20 ป และพบวาอุณหภูมิเฉลี่ยทางตอนเหนือของโบโกตาลดลงเล็กนอย ประมาณ 0.021 องศาเซลเซียสทุกปหลังจากนั้นจะแบงขอมูลออกเปนสัดสวน 70% : 30% สําหรับ ชุดขอมูลฝกฝนและชุดขอมูลทดสอบตามลําดับ ในสวนของชุดขอมูลฝกฝนจะนํามาใชในการสรางตัว แบบการทํานายดวยวิธีการถดถอยพหุคูณ (MLR) และการสุมปาไม (Random Forest) และหาปจจัย ที่เกี่ยวของกับความแปรปรวนของอุณหภูมิพื้นผิวดิน และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวแบบแตละ วิธีโดยใชคาเฉลี่ยของรากที่สองของกําลังสองขอความคลาดเคลื่อน (RMSE) และคาสัมประสิทธิ์การ ตัดสินใจพหุคูณ (R-square) ผลการวิจัยพบวาปจจัยที่สําคัญที่สุดในทุกภูมิภาคที่มีผลตออุณหภูมิ พื้นผิวดินคือ ดัชนีความตางพืชพรรณ (NDVI) และจากการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวแบบ พบวาตัวแบบการสุมปาไมมีประสิทธิภาพมากที่สุดโดยมีคา RMSE ต่ําที่สุด และ คา R-square สูง ที่สุดซึ่งอยูระหวาง 29.90 % ถึง 53.29 % อยางไรก็ตามไมสามารถประกันไดวาตัวแบบที่ดีที่สุดจาก การศึกษาครั้งนี้จะมีประสิทธิภาพดีที่สุดสําหรับพื้นที่ศึกษาอื่น ๆ | en_US |
Appears in Collections: | 746 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6220320002.pdf | 4.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License