Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17994
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประภาพร ชูกำเหนิด-
dc.contributor.authorจิรนันท์ ลิเหล็ก-
dc.date.accessioned2023-04-19T07:43:43Z-
dc.date.available2023-04-19T07:43:43Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17994-
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารทางการพยาบาล), 2564en_US
dc.description.abstractThis research aims to study the level of professional engagement of generation Y registered nurses and factors predicting professional engagement of the generation Y registered nurses working in tertiary hospitals, southern Thailand. The sample comprised 148 generation Y registered nurses working in a southern tertiary hospital. Data were collected using questionnaires consisting of 1) a demographic questionnaire, 2)a professional engagement questionnaire, 3)a transformational leadership questionnaire, and 4) a positive practice environment questionnaire. The content validity of the questionnaires 2, 3, and 4 was examined by 3 experts and yielded the CVI of 0.87, 0.82 and 0.92 respectively. The reliability test of questionnaire obtained the Cronbach's alpha coefficient of 0.93, 0.96 and 0.88 consecutively. The data were analyzed using descriptive statistics, correlation and multiple regression analysis. The results showed that the level of professional engagement among generation Y nurses working in the southern tertiary hospitals was high (M = 3.86, SD = .44) The factors related to the professional engagement among generation Y nurses in this study were positive practice environment, transformational leadership of head nurse, receiving praise for the job, and being prepared for a higher position. Result of multiple regression showed that positive practice environment, transformational leadership of head nurse and being praised for the job could explain 45 percent (R2 = .45, F = 39.10, p = <.01) of variance of professional engagement among generation Y nurses in this southern tertiary hospital. It a suggested that the nursing administrators should use the results this study to promote professional engagement among generation Y nurses in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความผูกพันในงานen_US
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวายen_US
dc.subjectโรงพยาบาลตติยภูมิภาคใต้en_US
dc.titleปัจจัยทำนายความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวาย โรงพยาบาลตติยภูมิภาคใต้en_US
dc.title.alternativeFactors Predicting of Professional Engagement Among Generation Y Nurses in Tertiary Hospitals, Southern Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Nursing Administration)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาล-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวาย และศึกษาอำนาจทำนายความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวายโรงพยาบาลตติยภูมิภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลตติยภูมิภาคใต้ จำนวน148 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 1 ชุด 4 ตอน ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามความผูกพันในงานพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวาย 3) แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย 4) แบบสอบสภาพแวดล้อมการปฏิบัติที่ดี แบบสอบถามตอนที่ 2, 3 และ 4 ตรวจสอบคุณภาพความตรงเชิงเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คนได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.87, 0.82 และ 0.92 ตามลำดับ ทดสอบค่าความเชื่อมั่นได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบัค เท่ากับ 0.93, 0.96 และ 0.88 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติหาความสัมพันธ์และสถิติการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่าระดับความผูกพันในงานของพยาบาลเจนเนอเรชั่นวายในโรงพยาบาลตติยภูมิภาคใต้อยู่ในระดับสูง (M = 3.86, SD = 0.44) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันในงานของพยาบาลเจนเรเนอชั่นวายในโรงพยาบาลตติยภูมิภาคใต้ได้แก่ สภาพแวดล้อมการปฏิบัติที่ดี ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย การได้รับการยอมรับในการทำงานและได้รับการเตรียมเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น และปัจจัยที่ร่วมกันทำนายความผูกพันในงานของพยาบาลเจนเนอเรชั่นวายในโรงพยาบาลตติยภูมิภาคใต้ ได้แก่ สภาพแวดล้อมการปฏิบัติที่ดี ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และการได้รับการยอมรับในการทำงานโดยสามารถร่วมกันทำนายความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวายในโรงพยาบาลตติยภูมิภาคใต้ได้ร้อยละ 45 (R2 = .45, F = 39.10, p = <.005) ดังนั้นผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการส่งเสริมความผูกพันในงานของพยาบาลวิชาชีพกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอนาคตได้en_US
Appears in Collections:649 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6210420007.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons