Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17986
Title: | Effectiveness of Using Grammar Logs with Explicit Corrective Feedback in Improving Written Grammar of Lower Secondary School Students |
Other Titles: | ประสิทธิผลของการใช้บันทึกไวยากรณ์ร่วมกับการให้ข้อมูลย้อนกลับแบบชัดเจนในการพัฒนาความสามารถด้านไวยากรณ์สำหรับการเขียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น |
Authors: | Panida Sukseemuang Phatcharaphan Sakanlai Faculty of Liberal Arts (Languages and Linguistics) คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์ |
Keywords: | effectiveness of grammar log;explicit corrective feedback;L2 writing ability;task-based teaching;written grammar;English language Grammar Study and teaching (Secondary);English language Usage Study and teaching (Secondary) |
Issue Date: | 2021 |
Publisher: | Prince of Songkla University |
Abstract: | The objectives of this research were to study the effectiveness of the use of grammar logs with explicit corrective feedback of Lower Secondary (Mattayomsuksa 3) students in improving the written grammar for writing and to survey students’ perception toward the use of grammar logs. The population was Mattayomsuksa 3 students studying at Khlong Thom Ratrangsan Secondary School, Krabi and 30 students were randomly selected as participants in this study. The main instruments employed in this study were pre-test and post-test, grammar logs, and a questionnaire. Additionally, there were supporting instruments including writing tasks and teaching materials.The quantitative data were analysed using means, standard deviation, frequency, t-test and percentage. The qualitative data were analysed and categorized into themes. The findings showed that the use of grammar logs with explicit corrective written feedback significantly improved students’ overall written grammar for writing and the students had a very positive attitude towards the use of grammar logs. The findings suggest that the grammar log with explicit corrective feedback is beneficial for teaching writing; however, low proficiency students may need more time to record grammar logs and finish their writing tasks. |
Abstract(Thai): | วัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ การศึกษาประสิทธิผลของการใช้บันทึกไวยากรณ์และการให้ข้อมูลย้อนกลับในการพัฒนาความสามารถด้านไวยากรณ์สำหรับการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มประชากรคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนคลองท่อมราษฎร์รังสรรค์ จังหวัดกระบี่ ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย นักเรียนจำนวน 30 คน และใช้เครื่องมือหลักในการวิจัยคือ แบบทดสอบวัดทักษะการเขียน แบบสอบถาม แบบบันทึกไวยากรณ์ นอกจากนี้ยังมีงานเขียน และสื่อการสอนซึ่งเป็นอุปกรณ์สนับสนุนเครื่องมือวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถด้านไวยากรณ์เพื่อการเขียนของนักเรียนก่อนการใช้บันทึกไวยากรณ์มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ หลังจากที่นักเรียนมีการใช้บันทึกไวยากรณ์ และได้รับข้อมูลย้อนกลับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า T-Test การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาและนำเสนอด้วยการจัดกลุ่ม ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าแบบบันทึกไวยากรณ์พร้อมข้อมูลย้อนกลับสามารถพัฒนาทักษะไวยากรณ์สำหรับทักษะการเขียนอย่างมีนัยสำคัญ และนักเรียนยังมีความคิดเห็นในเชิงบวกต่อการใช้แบบบันทึกไวยากรณ์ในการพัฒนาความสามารถไวยากรณ์เพื่อการเขียน อย่างไรก็ตามจากงานวิจัยพบว่า นักเรียนที่มีความสามารถทางด้านภาษาน้อย อาจมีความจำเป็นต้องเพิ่มเวลาในการบันทึกแบบบันทึกไวยากรณ์และทำแบบฝึกทักษะการเขียนให้สำเร็จ |
Description: | Thesis (M.A., Teaching English as an International Language)--Prince of Songkla University, 2021 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17986 |
Appears in Collections: | 890 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6111121019.pdf | 2.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License