Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17981
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุมาพร มุณีแนม-
dc.contributor.authorภานุวัฒน์ ศรีมาฆะ-
dc.date.accessioned2023-04-19T04:09:22Z-
dc.date.available2023-04-19T04:09:22Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17981-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชน))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564en_US
dc.description.abstractThe purpose of this research aims to study of tourism situation of Thai boxing camps before and during the pandemic of COVID-19, study of the management of Thai boxing camps for tourism before the pandemic situation of the COVID-19, and study of the adaptation guidelines of Thai boxing camp entrepreneur during the pandemic situation of COVID-19 in Phuket Province. Qualitative research method was used with structured interviews form. Data were collected through in-depth interviews from one representative of purposive samples from six out of total 16 of Thai boxing camp entrepreneurs that still open during the Covid-19 outbreak situation and willing to give interviews in the first round of six camps, and in the second round, only three camps left. Content analysis was used to analyze data. The results showed that most of the interested customers were foreign tourists which used the service or buy a Thai boxing course than Thai tourists. From the COVID-19 outbreak made foreign tourists unable to visit Phuket all activities and Thai boxing courses have been cancelled. The management of the building was divided into zones for teaching activities. Cleanliness of equipment, especially mitts, sandbags, classroom floors and various exercise equipments. On the worker site, there were two parts of staff working in the office, (office workers) and staff working outside the office (trainers and cleaning staff). In term of adaptation of Thai Boxing Camp Entrepreneurs' during COVID-19 in Phuket Province were: environment requires that the establishment must comply with sanitary safety standards (SHA) and (SHA+) for the hygiene of equipment and utensils in the building. Cleanliness of cleaning equipments and staffs. Social distance with social distancing, control the number of users and the economy from the announcement of the country's lockdown and the suspension of travel, causing no tourists employees are unemployed, and lack of income that the entrepreneur helps their staffs by giving them to stay at accommodation in the boxing camp while waiting for the situation to return to normal.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการปรับตัวของผู้ประกอบการค่ายมวยไทยen_US
dc.subjectสถานการณ์การระบาดของโควิด-19en_US
dc.subjectการบริการรูปแบบใหม่en_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ภูเก็ตen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ภูเก็ตen_US
dc.subjectผู้ประกอบการ ภูเก็ตen_US
dc.subjectมวยไทย ภูเก็ตen_US
dc.titleการศึกษาการปรับตัวของผู้ประกอบการค่ายมวยไทยเพื่อการท่องเที่ยวภายใต้แนวคิด การให้บริการในรูปแบบใหม่ (New Norm) ท่ามกลางสถานการณ์ COVID-19: กรณีศึกษาจังหวัดภูเก็ตen_US
dc.title.alternativeStudy of Thai Boxing Camp Entrepreneur's Adaptation for Tourism in New Norm during Covid-19 : A Case Study of Phuket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Environmental Management (Environmental Management)-
dc.contributor.departmentคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การท่องเที่ยวของค่ายมวยไทยก่อนและ ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ศึกษาการจัดการค่ายมวย ไทยเพื่อการท่องเที่ยวก่อนสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และศึกษา แนวทางการปรับตัวของผู้ประกอบการค่ายมวยไทยท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดภูเก็ต ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงค่ายละ 1 คน จ านวน 16 ค่าย จากตัวแทนผู้ประกอบการค่ายมวยไทยที่เป็นเจ้าของหรือผู้จัดการ ที่ยังคงเปิด ให้บริการในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 และยินดีให้สัมภาษณ์ในรอบที่หนึ่งจ านวน 6 ค่าย และในรอบที่ 2 เหลือเพียง 3 ค่าย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการส่วน ใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ซึ่งนิยมเข้ามาใช้บริการหรือซื้อหลักสูตรการเรียนมวยไทยของทาง ค่ายมวยมากกว่านักท่องเที่ยวชาวไทย จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ท าให้นักท่องเที่ยว ชาวต่างประเทศไม่สามารถเดินทางเข้ามาจังหวัดภูเก็ต ส่งผลให้กิจกรรมและหลักสูตรการเรียนมวยไทย ของทุกค่ายมวยต่างถูกยกเลิกทั้งหมด การจัดการด้านอาคารสถานที่มีการแบ่งโซนการท ากิจกรรมการ เรียนการสอนไว้เป็นสัดส่วน ด้านความสะอาดของอุปกรณ์ พนักงานท าความสะอาดด้วยน้ ายาท าความ สะอาดทุกครั้ง โดยเฉพาะนวม กระสอบทราย พื้นห้องเรียน และอุปกรณ์ออกก าลังกายต่าง ๆ ด้าน ผู้ปฏิบัติงานมีการแบ่งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานออกเป็น 2 ส่วน คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในส านักงาน (พนักงานออฟฟิศ) และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานนอกส านักงาน (ครูฝึกหรือเทรนเนอร์รวมไปถึงพนักงาน ท าความสะอาด) ในส่วนของแนวทางการปรับตัวผู้ประกอบการค่ายมวยไทยมีการเตรียมตัวรับมือกับ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นด้านต่าง ๆ ดังนี้ ด้านสิ่งแวดล้อมทางสถานประกอบการต้องปฏิบัติตาม มาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย (SHA) และ (SHA+) ทั้งด้านสุขลักษณะเครื่องมือเครื่องใช้ใน อาคาร ความสะอาดของอุปกรณ์ท าความสะอาด และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านสังคมมีการเว้น ระยะห่างในการท ากิจกรรม ควบคุมจ านวนผู้ใช้บริการ และด้านเศรษฐกิจจากการประกาศปิด ประเทศและงดการเดินทางท าให้ไม่มีนักท่องเที่ยว ส่งผลให้พนักงานไม่มีงานท า ขาดรายได้ ทาง ผู้ประกอบการช่วยเหลือโดยการให้พักในที่พักของค่ายมวยระหว่างรอให้สถานการณ์กลับมาเป็นปกติen_US
Appears in Collections:820 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6110920015.pdf5.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons