Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17976
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฆายนีย์ ช.บุญพันธ์-
dc.contributor.authorณัฏฐณิชา ทิพย์สังข์-
dc.date.accessioned2023-04-18T09:18:24Z-
dc.date.available2023-04-18T09:18:24Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17976-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566en_US
dc.description.abstractThe study on public expectation towards development policies and public participation among people in Kho Hong Municipality, Songkhla, aimed to 1) explore the level of public participation in Kho Hong Municipality, Songkhla, 2) compare public participation in Kho Hong Municipality, Songkhla, based on personal factors, and 3) examine the relationship between public expectation towards development policies and public participation among people in Kho Hong Municipality, Songkhla. The data were collected through a questionnaire distributed to 397 people aged 18 years and above living in Kho Hong Municipality, Songkhla. The collected data were then analyzed using statistical methods, including frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. Other analyses were the comparison of the means of the sample, one-way ANOVA, paired t-test, and correlation analysis. The results revealed that public participation in Kho Hong Municipality, Songkhla, was at a high level. The comparison of public participation in Kho Hong Municipality, Songkhla, based on personal factors indicated that gender, education, career, income, residence area, and duration of living in the area significantly led to different levels of public participation in Kho Hong Municipality, Songkhla, at a significance level of .05. Regarding the analysis of the factors in public expectation towards development policies, it involved four aspects, namely transportation and infrastructure development; society, public health, and quality of life; environment; and management development. The variables showed that public expectation towards development policies had a positive relationship with public participation among people in Kho Hong Municipality, Songkhla.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความคาดหวังen_US
dc.subjectนโยบายด้านการพัฒนาen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมen_US
dc.titleความคาดหวังของประชาชนต่อนโยบายด้านการพัฒนา กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeThe Expectations of People for the Development Policies and Public Participation of People in Khohong Municipality, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thการศึกษาเรื่อง ความคาดหวังของประชาชนต่อนโยบายด้านการพัฒนา กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัดสงขลา ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัดสงขลา 2) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชน ในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัดสงขลา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังของประชาชนต่อนโยบายด้านการพัฒนา กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัดสงขลา โดยเก็บข้อมูลจากประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัดสงขลา จำนวน 397 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ทดสอบความแตกต่างรายคู่ และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัย พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัดสงขลา อยู่ในระดับมาก การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมือง คอหงส์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มี เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ พื้นที่อาศัย และระยะเวลาที่อาศัย มีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมือคอหงส์ จังหวัดสงขลา ที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 สำหรับการวิเคราะห์ปัจจัยความคาดหวังต่อนโยบายด้านการพัฒนา ประกอบไปด้วย 4 ด้าน คือ ด้านการพัฒนาระบบคมนาคมและโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสังคมสาธารณสุขและคุณภาพชีวิต ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านพัฒนาการบริหารจัดการ โดยตัวแปรดังกล่าวสามารถอธิบายความคาดหวังต่อนโยบายด้านการพัฒนามีความสัมพันธ์ทางบวกกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัดสงขลาen_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis



This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons