Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17967
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยะนุช ปรีชานนท์-
dc.contributor.advisorชัยยา น้อยนารถ-
dc.contributor.authorณิชาพรรณ วัลละ-
dc.date.accessioned2023-04-12T09:20:57Z-
dc.date.available2023-04-12T09:20:57Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17967-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ), 2564en_US
dc.description.abstractThis research aimed to develop a causal relationship model of sensory marketing and social media marketing towards Gen-Y’s decisions on using coffee shop services and verify the consistency of the model by empirical data. The expected benefits from this research include the development and improvement of coffee shops’ sensory marketing and social media marketing, the formulation of marketing strategies for the coffee shops and related businesses as well as the development of marketing media for the coffee shop business. The model variables consisted of three latent variables: sensory marketing, social media marketing and Gen-Y’s decisions on using coffee shop services. The sample group was 300 Gen-Y men and women aged 20-40 years who were born between 1980 and 2000. The sample was selected by stratified random sampling, and data were collected using questionnaires. The data were further analyzed by descriptive statistics, Pearson correlation analysis and the structural equation model. The findings revealed that the correlation model between sensory marketing and social media marketing towards Gen-Y’s decisions on using coffee shop services was consistent with the empirical data. To be more precise, the Chi-square statistic was 72.77, the degrees of freedom (DF) equaled 75, probability (p) was 0.55, GFI was 0.97, AGFI was 0.95, CFI was 1.00, SRMR was 0.02, RMSEA was 0.00 and the correlation coefficient value was 0.77, which suggested that all the variables in the model could explain 77 percent of the variance of sensory marketing and social media marketing towards Gen-Y’s decisions on using coffee shop services. Keywords: Sensory marketing, Social media marketing, Decision making, Café,en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการตลาดเชิงประสาทสัมผัสen_US
dc.subjectการตลาดสื่อสังคมออนไลน์en_US
dc.subjectร้านกาแฟen_US
dc.subjectเจเนอเรชั่น Yen_US
dc.subjectการเลือกของผู้บริโภคen_US
dc.titleโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการตลาดเชิงประสาทสัมผัสและการตลาดสื่อสังคมออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านกาแฟของเจเนอเรชั่น Yen_US
dc.title.alternativeA Causal Relationship Model of Sensory Marketing and Social Media Marketing Affecting of the Generation Y Decision to use the Cafe'en_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Commerce and Management-
dc.contributor.departmentคณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการตลาดเชิงประสาทสัมผัส และการตลาดสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านกาแฟของ Gen-Y และตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการตลาดเชิงประสาทสัมผัส และการตลาดสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านกาแฟของ Gen-Y กับข้อมูล เชิงประจักษ์ โดยประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการทำวิจัยในครั้งนี้ คือ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการตลาดเชิงประสาทสัมผัส และการตลาดสื่อสังคมออนไลน์ของร้านกาแฟ อีกทั้งสามารถนำผลการศึกษามาเป็นข้อมูลในการวางกลยุทธ์ทางการตลาดของร้านกาแฟ รวมถึงธุรกิจอื่น ๆ กับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เพื่อพัฒนาสื่อการตลาดของธุรกิจร้านกาแฟ ซึ่งตัวแปรในโมเดลประกอบด้วย ตัวแปรแฝง 3 ตัวได้แก่ การตลาดเชิงประสาทสัมผัส การตลาดสื่อสังคมออนไลน์ การตัดสินใจ ใช้บริการร้านกาแฟของ Gen-Y กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่ม Gen-Y ทั้งเพศชายและหญิงที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปี เกิดในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2523-2543 จำนวน 300 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างการตลาดเชิงประสาทสัมผัส และการตลาดสื่อสังคมออนไลน์ ที่มีต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านกาแฟของ Gen-Y มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อยู่ในเกณฑ์ดีโดยการตรวจสอบจากค่าสถิติไคร์สแควร์เท่ากับ 72.77 องศาอิสระ (df) เท่ากับ 75 ความน่าจะเป็น (p) เท่ากับ 0.55 ค่า GFI เท่ากับ 0.97 ค่า AGFI เท่ากับ 0.95 ค่า CFI เท่ากับ 1.00 ค่า SRMR เท่ากับ 0.02 ค่า RMSEA เท่ากับ 0.00 ค่าสัมประสิทธิ์ การพยากรณ์เท่ากับ 0.77 แสดงว่า ตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวน ของการตลาดเชิงประสาทสัมผัส และการตลาดสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านกาแฟของ Gen-Y ได้ร้อยละ 77en_US
Appears in Collections:942 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6250121005.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons