Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุกรี แดสา-
dc.contributor.authorไกรวิทย์ ชูชาติ-
dc.date.accessioned2023-03-13T07:01:44Z-
dc.date.available2023-03-13T07:01:44Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17921-
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม), 2565en_US
dc.description.abstractThis research aims to 1. Design and develop a system to measure the use of electricity to show the voltage (Voltage: V), the electric current (Ampere: A), the electric power (KW), the electric power per unit (Kilowatt hour: Kwh.) in real time 2. Analyze the factors related to and affect the use of electricity during the Off-Peak period and 3. Plan for the management of the OffPeak electricity consumption. Implementation of the development of a building's electricity consumption monitoring system on the Internet of Things platform. Case Study of Sriwittaya Building Faculty of Engineering Rajamangala University of Technology Srivijayahave studied the operation procedure by collecting Information on the use of electricity during the Off-Peak. Retrieved from the document. and study the relevant documents and analyze them using the principles of the system development cycle. To develop the system to meet the needs of users as much as possible The results showed that System for measuring electricity consumption with developed programs It can measure electrical quantities such as electric power (Kw), current (A), voltage (V), frequency (Hz) and electric power (Kwh). (Kw) has an error of 2.05%, a current (A), an error of 1.25%, a voltage (V), an error of 0.26%, a frequency (Hz), an error of 2.00%, and Electrical energy value (Kwh), error value 0.00%. Factors related to and affecting the use of electricity during the Off-Peak period are lighting system 58.56%, air conditioning system 23.62% and the Off-Peak Power Management Plan. Peak according to the energy conservation guidelines of the Ministry of Energy consists of 3 strategies as follows: Strategy 1. Optimizing energy consumption Strategy 2. Public relations campaign and create awareness among the personnel of the Faculty of Engineering Rajamangala University of Technology Srivijaya Strategy 3. Monitoring, evaluating and reporting results of implementation of the economical measures. reduce energy consumptionen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectระบบตรวจวัดการใช้พลังงานไฟฟ้าen_US
dc.subjectอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งen_US
dc.titleการพัฒนาระบบตรวจวัดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารบนแพลตฟอร์มอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง กรณีศึกษาอาคารศรีวิศววิทยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยen_US
dc.title.alternativeDevelopment of the Internet of Things Platform System for Electricity Usage Monitoring Case study: Srivitsawavitthaya Buildings, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Srivijayaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering (Industrial Engineering)-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ออกแบบพัฒนาระบบตรวจวัดการใช้พลังงานไฟฟ้าให้แสดงค่าแรงดันไฟฟ้า ค่ากระแสไฟฟ้า ค่ากำลังไฟฟ้า ค่าพลังงานไฟฟ้าต่อหน่วย แบบทันทีทันใด 2.วิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องและมีผลต่อการใช้พลังงานไฟฟ้าช่วง Off-Peak และ 3. วางแผนการบริหารจัดการการใช้พลังงานไฟฟ้า Off-Peak การดำเนินการพัฒนาระบบตรวจวัดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารบนแพลตฟอร์มอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง กรณีศึกษาอาคารศรีวิศววิทยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ได้ทำการศึกษาขั้นตอนการดำเนินงานโดยการรวบรวมข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าในช่วง Off-Peak สืบค้นจากเอกสาร และศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องแล้วนำมาวิเคราะห์โดยใช้หลักการของวงจรการพัฒนาระบบ เพื่อพัฒนาระบบให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานมากที่สุด ผลการศึกษาพบว่า ระบบตรวจวัดการใช้พลังงานไฟฟ้าด้วยโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น สามารถวัดปริมาณทางไฟฟ้า ได้แก่ ค่ากำลังไฟฟ้า ค่ากระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า ค่าความถี่ และค่าพลังงานไฟฟ้าได้ โดยค่าความผิดพลาดของค่ากำลังไฟฟ้า มีค่าความผิดพลาดร้อยละ 2.05 ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าความผิดพลาดร้อยละ 1.25 ค่าแรงดันไฟฟ้า ค่าความผิดพลาดร้อยละ 0.26 ค่าความถี่ ค่าความผิดพลาดร้อยละ 2.00 และค่าพลังงานไฟฟ้า ค่าความผิดพลาดร้อยละ 0.00 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องและมีผลต่อการใช้พลังงานไฟฟ้าช่วง Off-Peak คือ ระบบแสงสว่าง ร้อยละ 58.56 ระบบเครื่องปรับอากาศ ร้อยละ 23.62 และแผนการบริหารจัดการการใช้พลังงานไฟฟ้า Off-Peak ตามแนวทางด้านการอนุรักษ์พลังงานของกระทรวงพลังงาน ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน กลยุทธ์ที่ 2. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และสร้างจิตสำนึกให้กับบุคลากรของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย กลยุทธ์ที่ 3. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการประหยัด ลดการใช้พลังงานen_US
Appears in Collections:228 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310121001.pdf7.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons