Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17917
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุกรี, แดสา-
dc.contributor.authorศุภชัย, รักษ์ทอง-
dc.date.accessioned2023-03-13T06:15:11Z-
dc.date.available2023-03-13T06:15:11Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17917-
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการอุตสาหกรรม), 2565en_US
dc.description.abstractThis research aims to reduce wasted time in the drilling process of petroleum production wells compared to drilling hours of drilling before improvement, begins with studying and exploring research related to drilling petroleum production wells. Including the composition of the mud water to be used as information for conducting research. Then study the process of drilling production wells of the company case study and collect data on drilling hours in March – May 2021 to analyze the problems. And identifying the problem conditions that resulted in waiting time, it was found that the average waiting hours was 4.64 hours/well which is representing 5.45%. Which was main caused by the waiting process of the Mud circulation system. Therefore, the problem data was used to analyze the cause by Fishbone diagrams. The main cause of the problem is 1) the cause of the method due to the method of the Mud circulation system through the same set of pipes and 2) caused by materials/equipment from the examination of materials/equipment used in the same set. Therefore, the mixture of 2 types of mud water. The researcher has improved by using the Risk management principle based on the level of significant risk to improve activity for elimination by designing a schematic of a new Mud circulation system, installing additional equipment kits, preparing Work Instruction document, preparing checklist and training to educate operators. Then followed up on improvements by collecting data on drilling hours of February – April 2022, it was found that there was no longer waiting time in the drilling process.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการลดเวลาสูญเปล่าen_US
dc.subjectการปรับปรุงประสิทธิภาพการขุดเจาะหลุมผลิตปิโตรเลียมen_US
dc.subjectDrillingen_US
dc.subjectTender Assist Rigen_US
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพการขุดเจาะหลุมผลิตปิโตรเลียมบนแท่นขุดเจาะแบบเทนเดอร์en_US
dc.title.alternativeImproving the Drilling Performance of Petroleum Wells on a Tender Assist Rigen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering (Industrial Engineering)-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดเวลาสูญเปล่าในกระบวนการขุดเจาะหลุมผลิต ปิโตรเลียม เมื่อเทียบกับข้อมูลจ านวนชั่วโมงในการขุดเจาะก่อนการปรับปรุง โดยเริ่มจากการศึกษา และส ารวจงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการขุดเจาะหลุมผลิตปิโตรเลียม รวมถึงองค์ประกอบของน ้าโคลน เพื่อเป็นข้อมูลในการด าเนินการวิจัย จากนั้นท าการศึกษาขั้นตอนการขุดเจาะหลุมผลิตของบริษัท กรณีศึกษา และเก็บรวบรวมข้อมูลจ านวนชั่วโมงในการขุดเจาะย้อนหลัง 3 เดือน คือ เดือน มีนาคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เพื่อน าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติและระบุสภาพปัญหาที่มีผลท าให้เกิด เวลาที่สูญเปล่า พบว่า ค่าเฉลี่ยของจ านวนชั่วโมงที่รอคอยเท่ากับ 4.64 ชั่วโมง/หลุม คิดเป็นร้อยละ 5.45 ซึ่งเกิดจากขั้นตอนการรอระบบหมุนเวียนน ้าโคลนท าให้เกิดเวลาสูญเปล่ามากที่สุด จึงได้น า ข้อมูลปัญหาดังกล่าวมาท าการวิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริงโดยใช้แผนผังก้างปลาพบว่า สาเหตุหลัก ของปัญหาเกิดจาก 2 ประเด็นหลัก คือ 1) สาเหตุจากวิธีการ เนื่องจากวิธีการระบบล าเลียงน ้าโคลน เป็นการหมุนเวียนน ้าโคลนผ่านท่อชุดเดียวกัน และ 2) สาเหตุจากวัสดุ/อุปกรณ์จากการตรวจสอบ วัสดุ/อุปกรณ์ที่ใช้เป็นชุดเดียวกัน จึงเกิดการปะปนกันของน ้าโคลน 2 ชนิด ซึ่งไม่สามารถแยกน ้าโคลน ทั้ง 2 ชนิดออกจากกันได้ ทางผู้วิจัยจึงได้ท าการปรับปรุงโดยใช้หลักการบริหารความเสี่ยงของระบบ ล าเลียงน ้าโคลนใหม่โดยพิจารณาตามระดับความเสี่ยงที่มีระดับนัยส าคัญ เพื่อน ามาจัดท าแผนการ ด าเนินงานปรับปรุงด้วยการออกแบบแผนผังของระบบท่อล าเลียงน ้าโคลนแบบใหม่, ติดตั้งชุดอุปกรณ์ เพิ่มเติมต่างๆ, จัดท าเอกสารมาตรฐานการท างาน, จัดท าเอกสารบันทึกการตรวจสอบ และจัดการ ฝึกอบรม จากนั้นได้ติดตามผลการปรับปรุง โดยท าการเก็บข้อมูลจ านวนชั่วโมงในการขุดเจาะของ เดือน กุมภาพันธ์– เมษายน พ.ศ.2565 พบว่า ไม่เกิดเวลารอคอยในกระบวนการขุดเจาะอีกต่อไปen_US
Appears in Collections:228 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310121032.pdf4.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons